สืบค้นงานวิจัย
การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในระบบการปลูกแบบอินทรีย์ ในหลายฤดูปลูก
พรทิพย์ พรสุริยา - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
ชื่อเรื่อง: การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในระบบการปลูกแบบอินทรีย์ ในหลายฤดูปลูก
ชื่อเรื่อง (EN): Varietal Trial of Super Sweet Corn under Organic Growing System in Various Seasons
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: พรทิพย์ พรสุริยา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสม 6 พันธุ์ ใน 5 สภาพแวดล้อม ได้แก่ การปลูกแบบ อินทรีย์ (ไม่ใช้ปุ๊ขเคมีและสารเคมีอื่นๆ) การปลุกแบบเคมี (ใช้ปุ๊ยเคมี) และการปลูกโดยใช้ทั้ง ปุ้ยเคมีและปุ้ยอินทรีย์ ในฤดูปลูกที่ 1 ระหว่างเดือนธันวาคม 253 - มีนาคม 2554 และในฤดูปลูก ที่ 2 ในการปลูกแบบอินทรีย์ และการปลูกแบบเคมี ระหว่างเดือนเมษาขน - มิถุนายน 2554 โดยใน แต่ละสภาพแวดล้อม วางแผนการทคลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ (RCBD) จำนวน 4 ซ้ำ 6 ทรีต เมนท์ ได้แก่ พันธุ์ไฮบริกซ์ 3 พันธุ์ทอปสวีท 801 พันธุ์ชูการ์ 75 พันธุ์ชูการ์สตาร์ พันธุ์ออโรรา และพันธุ์อินทรีย์ 2 ทำการทคลองที่แปลงทดลองสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช คณะ เกษตรศาสตร์และทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยเทคโนโลขีราชมงคลตะวันออก จังหวัดชลบุรี ผลการทดลองเมื่อพิจารณาผลผลิตต่อไร่ของการปลูกในแต่ละสภาพแวดล้อมพบว่าในฤดู ปลูกที่ 1 การปลูก โคยใช้ปุ๊ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ให้ผลผลิดต่อไร่ของฝักหลังปอกเปลือกสูงสุด (2,266 กิโลกรัมต่อไร่, P 0.05) ในขณะที่ในฤดูปลูกที่ 2 การปลูกแบบเคมี ให้ผลผลิตสูงกว่าการปลูกแบบอินทรีย์ (2,119 และ 1,519 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ, P < 0.01) เมื่อวิเคราะห์ผลรวมจากทั้ง 5 สภาพแวดล้อมพบว่าพันธุ์มีความแตกต่างกัน (P < 0.01) โดขพันธุ์ที่ มีผลผลิตสูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ พันธุ์ชูการ์สตาร์ ชูการ์ 75 และไฮบริกซ์ 3 (2,148, 2,052 และ 2,034 กิโลกรัมต่อไร่ ตามลำดับ) เมื่อพิจารณาพันธุ์ที่เหมาะสมในการปลูกแบบอินทรีย์ พบว่าพันธุ์ ที่แนวโน้มให้ผลผลิตมากที่สุดในการปลูกแบบอินทรีย์ในฤดูปลูกที่ 1 และ 2 คือพันธุ์ไฮบริกซ์ 3 และชูการัสตาร์ ตามลำดับ นอกจากนี้แล้วยังพบว่าพันธุ์ชูการ์สตาร์ยังมีแนวโน้มให้ผลผลิตสูงทั้ง ในสภาพการปลูกแบบอินทรีย์และแบบเคมีในทั้ง 2 ฤดูปลูก ในส่วนของปฏิกิริยาสัมพันธุ์ระหว่าง พันธุ์กับสภาพแวดล้อม พบว่าถักษณะที่มีปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างพันธ์กับสภาพแวดล้อม ได้แก่ ลักษณะความสูงดัน ความสูงฝักแรก ความยาวฝัก ความยาวปลายฝัก เสั่นผ่าศูนย์กลางฝัก และ ความหวานของเมล็ด
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานในระบบการปลูกแบบอินทรีย์ ในหลายฤดูปลูก
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
30 กันยายน 2554
การปรับปรุงพันธุ์ข้าวโพดเพื่อเพิ่มคุณภาพโปรตีน ปกป้องสายตาด้วยข้าวโพด การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี การทดลองหาปริมาณการใช้น้ำที่เหมาะสมของข้าวโพดหวานที่ปลูกโดยระบบเกษตรอินทรีย์ (ปีที่ 1) การทดสอบพันธุ์ข้าวโพดหวานลูกผสมในจังหวัดเชียงราย การปรับอัตราปลูกตามคุณภาพเมล็ดพันธุ์ในการผลิตข้าวโพดหวานลูกผสมพันธุ์ ATS-8 การทดสอบผลผลิตประชากรลูกผสมชั่วที่ 2 ที่ได้จากการผสมระหว่างพันธุ์ข้าวโพดหวานกับข้าวโพดเทียน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างระยะเวลาการเริ่มต้นให้น้ำและอัตราปลูกของข้าวโพดหวาน โครงการย่อยที่ 4 การทดสอบพันธุ์ข้าวร่วมกับระบบการปลูกพืชแบบผสมผสานในข้าวไร่และระบบนาน้ำน้อยในข้าวนาบนพื้นที่สูง การออกแบบและพัฒนาเครื่องปลูกข้าวโดยใช้เมล็ดพันธุ์ด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก