สืบค้นงานวิจัย
เปรียบเทียบการตอบสนองต่อการขาดธาตุโบรอนในข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลี
จำเนียร วงษ์โม้ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: เปรียบเทียบการตอบสนองต่อการขาดธาตุโบรอนในข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลี
ชื่อเรื่อง (EN): Comparative Response to Boron Deficiency in Barley and Wheat
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จำเนียร วงษ์โม้
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Jumnein Wongmo
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: รายงานการขาดโบรอนของข้าวบาร์เลย์มีความขัดเข้งกันอยู่ บางรายงานพบว่าเมื่อขาดโบรอนข้าวบาร์เลย์มีน้ำหนักแห้งฟางลดลง ในขณะที่บางรายงานพบว่าน้ำหนักแห้งฟางเพิ่มขึ้น เพื่อยืนยันให้เห็นผลกระทบจากการระบาดโบรอนทั้งการเจริญเติบ ใตทางลำต้นใบและการแพร่ขยายพันธุ์ที่เตกต่างกัน เปรียบเทียบการตอบสนองต่อระดับโบรอนในข้าวสาลีและข้าวบาร์เลย์ โดยทำการทดลองในกระถางทราย ในฤดูปลูก 2541/2542 ที่ภาควิชาพืชไร่ คณะเกษตรศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ผลจากการขาดโบรอนทำให้ข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลีติดเมล็ดลดลง ข้าวบาร์เลย์ยังได้รับผลกระทบ จากการขาดโบรอนในการเจริญเติบโตทางลำต้นและ ใบด้วย โดยข้าวบาร์เลย์จะมีขนาดรวงลดลง การออกรวงช้า มีจำนวน หน่อและน้ำหนักแห้งสูง ต่างจากข้าวสาลีที่ไม่พบอิทธิพลจากการขาดโบรอนในลักษณะดังกล่าว ดังนั้นอาการขาดโบรอน ของข้าวบาร์เลย์อาจมีกลไกของการขาดที่มีความซับช้อนมากกว่าข้าวสาลี ความแตกต่างระหว่างข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลีเป็นไปได้ อย่างเหมาะสม รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในงานปรับปรุงพันธุ์ เพื่อคัดเลือกหาพันธุ์ที่ทนทานต่อการขาคโบรอนต่อไป
บทคัดย่อ (EN): To determine if boron (B) deficiency, commonly reported to depress grain set in wheat, has the same effect in barley, two experiments compared three wheat and three barley genotypes at various B levels in sand culture. Plants were grown with varied levels of added B, from 0 to 10 μM. Without added B, the genotypes ranged in Grain Set Index (GSI) from 0 to 93% for wheat and 0 to 67% for barley. Boron concentration of the ear and flag leaf at boot stage in wheat and barley correlated (r = 0.8 – 0.9, p <0.01) with the effect of B on GSI. Grain set was the only response to low B, also measurable in decreased number of grains ear-1 and grains spikelet-1, in wheat. In barley, B deficiency also depressed the number of spikelets ear-1 by 23 to 75% and induced a “rat-tail” symptom of terminal spikelet degeneration. There was a weak correlation between ear and flag leaf B and the effect of B on ear size in barley (r = 0.47 and 0.37, respectively, p <0.1). In some barley genotypes, the low B level that depressed grain set sometimes also delayed ear emergence and depressed the number of ears plant-1 but sometimes increased tillering. These results demonstrate that the phenotypic response to low B is more complex in barley than wheat. Different strategies may be required for managing B nutrition and different approaches for selecting B efficient genotypes in the two species.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2545
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2546
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/246949/168945
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เปรียบเทียบการตอบสนองต่อการขาดธาตุโบรอนในข้าวบาร์เลย์และข้าวสาลี
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2546
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของระดับฟอสฟอรัสต่อการพัฒนาระบบรากข้าว แหล่งพันธุกรรมของความทนทานต่อการขาดธาตุโบรอนในข้าวบาร์เลย์ สมดุลธาตุอาหารในระบบการปลูกปลูกหมุนเวียนข้าว - ถั่ว บนพื้นที่สูงใน ภาคเหนือของประเทศไทย ผลของการแช่เมล็ดก่อนเพาะต่อสรีรวิทยาบางประการของข้าวในสภาพเครียดเกลือ สมบัติทางชีวภาพ การแยก การระบุเอกลักษณ์ของเม็ดแป้ง และการประยุกต์ใช้ส่วนต่างๆ ของเม็ดข้าวสาลีพันธุ์แม่โจ้เป็นผลิตภัณฑ์อาหาร การแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอในข้าวที่ตอบสนองต่อโรคขอบใบแห้ง โดยใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีการวิเคราะห์ลำดับเบสยุคก้าวหน้า ผลของการใช้แบคทีเรียละลายฟอสเฟตในการส่งเสริมการเจริญเติบโตของข้าวในสภาพแอโรบิก แนวทางสนับสนุนเศรษฐกิจข้าวและความมั่นคงทางอาหารภายใต้บริบทสังคมจังหวัดนครสวรรค์และจังหวัดพิจิตร การปรับปรุงพันธุ์ข้าวเพื่อเพิ่มปริมาณแป้งทนต่อการย่อยด้วยเอนไซม์ โดยใช้เครื่องหมายโมเลกุลช่วยในการคัดเลือก ผลของความร้อนต่อคุณภาพการสี คุณสมบัติทางเคมี กายภาพ และสารต้านอนุมูลอิสระของข้าวใหม่ที่ปลูกแบบนาขั้นบันได ในจังหวัดพิษณุโลก

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก