สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาความปลอดภัยและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นปลา
อัณนภา สุขลิ้ม - มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาความปลอดภัยและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นปลา
ชื่อเรื่อง (EN): Study of safety and quality of fish meat ball products
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อัณนภา สุขลิ้ม
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ในประเทศไทยการผลิตลูกขึ้นปลาในระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็กนิยมใช้ปลาทะเลเช่น ปลา ทรายแดง ปลาทรายขาว ปลาอินทรีย์ ปลาดาบลาว และปลาน้ำจืดเข่น ปลากราย ซึ่งปัญหาที่พบคือ อายุการเก็บรักษาที่ค่อนข้างสั้น ต่างไปจากการผลิตในระดับอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่ใช้เนื้อปลาบด แข่เยือกแข็งหรือริมิเป็นวัตถุดิบหลักร่วมกับการแช่แข็งจึงทำให้สามารถก็บรักษาได้เป็นเวลานาน งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพัฒนาคุณภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ถูกชิ้นปลาใน ระดับอุตสาหกรรมขนาดเล็กโดยใช้กระบวนการผลิตยูริมิและนำริมิมาผลิตเป็นวัตถุดิบในการ ลูกชิ้นปลา ปลาที่จะศึกษาได้แก่ ปลาดาบลาวโดยศึกษาผลของสารป้องกันโปรตีนเสียสภาพจากการแช่แข็งที่มีต่อคุณภาพเจลและ ลูกขึ้นปลาดาบลาว สารป้องกันโปรตีนเสียสภาพจากการแซ่แข็ง (Cryoprotectant) ที่ใช้ได้แก่ น้ำตาลซูโครส 3 และ 6% ร่วมกับโซเดียมไตรโพลีฟอสเฟต (Sodium Tripolyphosphate; STPP) 0.3% และการแช่แข็ง - ละลาย (Freeze - thaw Cycle) 0, 3 และ 6 รอบ (แช่แข็งที่ -40"ซ นาน 18 ชม. และละลายที่ 5 * ซ นาน 6 ขม.) ผลการศึกษาพบว่าการเติมน้ำตาลซูโครส 3 และ 69 ร่วมกับ โซเดียมไตรโพลีฟอสเฟต 0.3% ในเนื้อปลาบดล้างน้ำทำให้ค่าความขาวของเจลูสูงกว่าเจลเนื้อปลาบด ล้างน้ำเพียงอย่างเดียวและเจลเนื้อปลาบดไม่ล้างน้ำที่การแซ่แข็ง - ละลาย 0, 3 และ 6 รอบ 0.05)
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาความปลอดภัยและคุณภาพของผลิตภัณฑ์ลูกชิ้นปลา
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
30 กันยายน 2552
เอกสารแนบ 1
เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มความปลอดภัยและคุณภาพของปลานิลจากการเลี้ยงแบบยั่งยืน การวิจัยและปรับปรุงคุณภาพและความปลอดภัยของน้ำตาลโตนดเข้มข้นและการเพิ่มมูลค่าของผลิตภัณฑ์ การผลิต คุณภาพ และความปลอดภัยของน้าปลาร้าปรุงรส การประยุกต์ใช้เครื่องมือทางโปรตีโอมิกส์ในด้านคุณภาพและความปลอดภัยของเนื้อสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ การตรวจสอบคุณภาพอาหารและความปลอดภัยในผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรด้วยการตรวจสอบรูปแบบเอสเทอเรสไอโซไซม์ ปัญหาความไม่ใส่ใจในด้านคุณภาพและความปลอดภัยในอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารของนักศึกษาในรายวิชาการแปรรูปอาหาร 2 ผลของการมาริเนทด้วยเครื่องสะเต๊ะต่อการเปลี่ยนแปลงคุณภาพและความปลอดภัยของเนื้อหอยนางรม การศึกษาเบื้องต้นด้านคุณภาพทางจุลชีววิทยาและความปลอดภัยของปลานิลจากการเลี้ยงใต้เล้าไก่ การใช้การแข่งขันของจุลินทรีย์เพื่อรักษาคุณภาพและเพิ่มความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากปลาน้ำจืดเศรษฐกิจ การใช้สารสกัดจากมังคุดเพื่อปรับปรุงคุณภาพและความปลอดภัยของมังคุดสดตัดแต่งพร้อมบริโภค

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก