สืบค้นงานวิจัย
การสร้างมูลค่าเพิ่มจากดอกอัญชัน
ฐิติพรรณ ฉิมสุข - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การสร้างมูลค่าเพิ่มจากดอกอัญชัน
ชื่อเรื่อง (EN): Creating value added from Clitoria ternatea Linn
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ฐิติพรรณ ฉิมสุข
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Thitiphan Chimsook
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สารสกัดจากดอกอัญชันเตรียมได้จากเทคนิคช่วยสกัดด้วยคลื่นอัลตราโซนิก และเทคนิคการทำแห้งด้วยวิธีออสโมซิส ได้นำมาศึกษาร้อยละการสกัดและฤทธ์ิทางชีวภาพ สารสกัดดอกอัญชันที่สกัดด้วยเทคนิคการทำแห้งด้วยวิธีออสโมซิสที่สัดส่วนของดอกอัญชันต่อน้ำผึ้ง 1:1 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร ให้ค่าร้อยละการสกัดสูงสุดที่ 7.55?0.03 ฤทธ์ิต้านอนุมูลอิสระที่ 31.78?0.12 มิลลิกรัมสมมูลโทรล๊อกซ์ต่อกรัมน้ำหนักแห้ง และปริมาณฟี นอลิกรวมที่ 34.90?1.12 มิลลิกรัม สมมูลกรดแกลลิคต่อกรัมน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ สารสกัดนี้นำมาใช้ตั้งตำรับเซรั่มบำรุงรอบดวงตา และผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เซรั่มบำรุงรอบดวงตานำมาทดสอบสมบัติทางกายภาพ เคมี ทดสอบในอาสาสมัคร และออกแบบบรรจุภัณฑ์ นอกจากนี้ได้ทดสอบความเป็นพิษเฉียบพลันในผลิตภัณฑ์เสริมอาหารชนิดใหม่แล้วพบว่าผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัย
บทคัดย่อ (EN): The butterfly pea extracts were performed using ultrasonic assisted extraction and osmotic dehydration, studied the percentage yield and biological activities. The butterfly pea extract obtained from the ratio of butterfly pea to honey at 1:1 w/v using osmotic dehydration gave the highest percentage yield of 7.55?0.03, the antioxidant activity at 31.78?0.12 mg Trolox equivalents/g of dry weight and the total phenolic content at 34.90?1.12 mg gallic acid equivalents/g of dry weight, respectively. This butterfly pea extract was used to prepare the eye serum and the supplementary herbal product. The eye serum was characterized the physical and chemical properties, tested by volunteers and designed package. Moreover, the new supplementary herbal product was evaluated the acute oral toxicity and found that the herbal product was safety.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: คณะวิทยาศาสตร์
เลขทะเบียนวิจัยกรม: มจ.1-62-01-001
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัยแม่โจ้
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 251,310
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2562
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2562
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2562
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การสร้างมูลค่าเพิ่มจากดอกอัญชัน
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
2562
ศึกษาการสะสมธาตุไนโตรเจนและแอนโทไซยานินในอัญชัน 8 สายพันธุ์ การเลี้ยงปลาดุกบิ๊กอุยในกระชังร่วมกับปลาหมอเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม และความปลอดภัยด้านอาหาร การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสารสกัดจากดอกอัญชันสำหรับการย้อมสีถุงหุ้มเลนส์ตาส่วนหน้าในการผ่าตัดต้อกระจก การศึกษาประสิทธิภาพและความปลอดภัยของสารสกัดจากดอกอัญชันสำหรับการย้อมสีถุงหุ้มเลนส์ตาส่วนหน้าในการผ่าตัดต้อกระจก การพัฒนาศักยภาพผลิตภัณฑ์จากดอกอัญชัน การศึกษาสมบัติของแป้งหัวมันเพิ่มและการใช้ประโยชน์เพื่อการสร้างผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มของชุมชนตำบลเนินเพิ่ม อ.นครไทย จ.พิษณุโลก แผนงานวิจัยเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจากเศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรสู่การใช้ชีวิตแบบพอเพียง การวิจัยและพัฒนาการแปรรูปผลไม้ในเขตภาคเหนือเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้ผลิตภัณฑ์ การศึกษาห่วงโซ่อุปทานเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ผลิตมะม่วงน้ำดอกไม้เพื่อการส่งออก : กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก การสร้างมูลค่าเพิ่มด้วยการพัฒนาความเป็นตัวตนที่แท้จริงให้กับอาหารท้องถิ่นใน อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านการเล่าเรื่อง

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก