สืบค้นงานวิจัย
ผลของอัตราปุ๋ยซิลิกอนต่อการควบคุมโรคไหม้และผลผลิตข้าวอินทรีย์
วนิดา สำราญรัมย์ - มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชื่อเรื่อง: ผลของอัตราปุ๋ยซิลิกอนต่อการควบคุมโรคไหม้และผลผลิตข้าวอินทรีย์
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of silicon fertilizer rate on blast (Pyricularia oryzae Cav.) resistance and grain yield of organic Khao Dawk Mali 105 rice
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: วนิดา สำราญรัมย์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Wanida sumranram
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: โรคไหม้เป็นโรคที่สำคัญในข้าว เกิดการแพร่ระบาดกันอย่างรวดเร็ว วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาผลของการใส่ปุ้ย ซิลิกอนอัตราต่างกันที่มีต่อความสามารถต้านทานโรคไหม้และผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 10ร ทำการทดลองที่เรือนทดลองโรคพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์ วางแผนการทดลองแบบ Factorial in Randomized Block Design จำนวน 4 ซ้ำ ปัจจัยที่ 1 ได้แก่ เนื้อดิน(soil texture) ต่างกันคือ ดินทรายและดินร่วนปนทราย ปัจจัยที่ 2 ได้แก่ อัตราการใส่ปุ๊ยซิลิกอน 0, 40, 80 และ 160 กิโลกรัมต่อไร่ ทุกกรรมวิธีใส่มูลวัวอัตรา 1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ทดสอบความต้านทานต่อโรคไหม้เมื่อข้าวอายุ 20 วัน โดยใช้ foggy sprayer พ่น inoculums ให้ทั่วใบข้าวและบ่มต้นข้าวในสภาพมืดที่อุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 12 ชั่วโมง แล้วจึงข้ายต้นข้าวไปเก็บรักษาในโรงเรือนที่มีความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศ 95 * เป็นเวลา 7 วันและดูแลรักษาในโรงเรือน ระยะกล้าจนกระทั่งเก็บเกี่ยว ผลการทดลองพบว่าไม่มีความแตกต่างกันของความด้านทานโรคไหม้ระหว่างเนื้อดินทรายและดิน ร่วนปนทราย การใส่ปุ๋ยซิลิกอนสามารถทำให้ข้าวขาวดอกมะลิ 105 มีความต้านทานโรคใบไหม้และคอรวงไหม้ได้เมื่อ เปรียบเทียบกับที่ไม่ใส่ปุ๋ยซิลิกอน การใส่ปุ๊ยซิลิกอนอัตรา 40, 80 และ 160 กิโลกรัมต่อไร่ไม่มีผลทำให้ค่า severiy index (%) มี ความแตกต่างกันทางสถิติ การ ใส่ปู้ยซิลิกอนทุกอัตราเพิ่มผลผลิตเมล็ดข้าวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับไม่ใส่ปุ๊ย ซิลิกอน การใส่อัตรา 160 กิโลกรัมต่อไร่ได้ผลผลิตเมล็ดสูงสุด การปลูกข้าวในดินร่วนปนทรายได้ผลผลิตสูงกว่าปลูกในดินทราย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
บทคัดย่อ (EN): The objective of this research was to investigate the effects of silicon fertilizer rates on blast (Pyricularia oryzae) resistance and grain yield. A Greenhouse experiment was conducted at Faculty of Agricultural Technology, Buriram Rajabhat University. Factorial in Randomized Block Design with 4 replications was used in this study. The factor 1 consisted of two soil textures of sandy and loamy sand. The factor 2 consisted rates of silicon fertilizer; 0, 40, 80 and 160 kilograms per rai. Cow manure was applied at rate of 1000 kg/rai for all treatments. Inoculation of fungi spores on the leaves was performed at 20 days after rice seeding using a foggy sprayer and incubated them under dark conditions at 25 oC for 12 hours. The pots were then transfer to the greenhouse with relative humidity 95% for 7 days and maintained in a greenhouse condition until harvest. The results showed that there was no significant different of blast resistance of rice grown on different soil textures, sandy and loamy sand. There was significant different of leaf blast and neck blast resistance between treatments with and without silicon fertilizer application. However it did not show significant difference of severity index among fertilizer rates. The silicon fertilizer applied to the rice crop significant increase grain yield. The maximum grain yield was obtained at the rate of 160 kg/rai.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2553
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2554
เอกสารแนบ: https://ag2.kku.ac.th/kaj/PDF.cfm?filename=56.pdf&id=524&keeptrack=11
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของอัตราปุ๋ยซิลิกอนต่อการควบคุมโรคไหม้และผลผลิตข้าวอินทรีย์
ไม่ระบุผู้เผยแพร่
2554
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ระบบสถานีอากาศและการควบคุมการให้น้ำแปลงนาข้าวอินทรีย์ การสร้างมูลค่าเพิ่มข้าวอินทรีย์ อำเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม่ การพัฒนาชุมชนต้นแบบข้าวอินทรีย์ กรณีศึกษาเกษตรกรผู้ปลูกข้าวในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ระบบแนะนำการวางแผนในการผลิตสินค้าเกษตรอินทรีย์ กรณีศึกษากลุ่มผลิตข้าวอินทรีย์จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาการผลิตแผงเซลล์แสงอาทิตย์ชนิดซิลิกอนแบบกึ่งโปร่งแสงเพื่อใช้ร่วมกับอาคารประหยัดพลังงาน ประสิทธิภาพการย่อยสลายด้วยแสงของสารประกอบอินทรีย์โดยใช้วัสดุคอมโพสิต บิสมัธวานาเดต/ซิลิกอนไดออกไซด์ และกราฟีนเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา ผลของปุ๋ยมูลไก่ที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของหญ้าปักกิ่ง ผลของระดับของการให้นํ้าชลประทานที่มีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตของหญ้าหวาน ผลของสัดส่วนความเป็นประโยชน์ของแอมโมเนียมและไนเทรต ในปุ๋ยเคมีเกรด 15-15-15 ต่ออัตราการเติบโต ผลผลิตและสมบัติของดินบางประการในการปลูกคะน้า ศึกษาผลผลิตและองค์ประกอบผลผลิตของถั่วฝักยาวและถั่วพุ่ม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก