สืบค้นงานวิจัย
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกกระดองชนิด Sepia aculeata และ S. recurvirostra บริเวณอ่าวไทย
บุญฤทธิ์ เจริญสมบัติ, จินตนา จินดาลิขิต, ธิดารัตน์ คงชัย, อุดม เครือเนียม, ชุมโชค สิงหราชัย - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกกระดองชนิด Sepia aculeata และ S. recurvirostra บริเวณอ่าวไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Reproductive Biology of Cuttlefish, Sepia aculeata and S. recurvirostra in the Gulf of Thailand
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: หมึกกระดองชีววิทยาการสืบพันธุ์น่านน้ำไทยอันดามัน
บทคัดย่อ: การศึกษาชีววิทยาการสืบพันธุ?ของหมึกกระดองชนิดSepia aculeata และ S. recurvirostra บริเวณอ?าวไทย ดําเนินการตั้งแต?เดือนมกราคมถึงธันวาคม 2551 โดยเก็บรวบรวมข?อมูลและตัวอย?างจากเรือ อวนลากแผ?นตะเฆ?และอวนลากคู? ที่มีแหล?งทําการประมงบริเวณอ?าวไทย ตั้งแต?จังหวัดตราดถึงสงขลา ผลการศึกษาพบว?า หมึกกระดองชนิด S. aculeata เพศผู?มีความยาวลําตัวเฉลี่ยในแต?ละเดือน 82.7-95.2 มิลลิเมตร เพศเมีย 100.2-121.5 มิลลิเมตร ชนิด S. recurvirostra เพศผู?มีความยาวลําตัวเฉลี่ย 67.3-82.9 มิลลิเมตร เพศเมีย 68.2-89.5 มิลลิเมตร หมึกกระดองทั้ง 2 ชนิด มีความยาวลําตัวเฉลี่ยของเพศผู?และ เพศเมียแตกต?างกันอย?างมีนัยสําคัญ (P0.05) ขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ?ของหมึกกระดองชนิดS. aculeata เพศผู?และเพศเมีย เท?ากับ 71.9 และ 94.4 มิลลิเมตร และชนิด S. recurvirostra เท?ากับ 66.2 และ 84.2 มิลลิเมตร ตามลําดับ หมึกกระดอง ทั้ง 2 ชนิดวางไข?ตลอดป?โดยชนิดS. aculeata มีฤดูวางไข?ระหว?างเดือนพฤศจิกายนถึงกุมภาพันธ?และ ชนิด S. recurvirostra มีฤดูวางไข?ระหว?างเดือนมกราคมถึงกุมภาพันธ?และระหว?างเดือนมิถุนายนถึง พฤศจิกายน
บทคัดย่อ (EN): Reproductive biology of the 2 cuttlefish, Sepia aculeata and S. recurvirostra, in the Gulf of Thailand was studied during January-December 2008. Data and samples were collected from otter-board and pair trawlers fishing along the Gulf of Thailand from Trat to Song-Khla Provinces. It was found that the monthly average mantle lengths of male and female S. aculeata were 82.7-95.2 and 100.2-121.5 mm, while those of male and female S. recurvirostra were 67.3-82.9 and 68.2-89.5 mm, respectively. For those 2 cuttlefish, the average mantle lengths of male and female were significantly different (P0.05), respectively. Lengths at first maturity were 71.9 and 94.4 mm in male and female of S. aculeate, and 66.2 and 84.2 mm in male and female of S. recurvirostra, respectively. Both of the cuttlefish spawned all year with peak in November-February for S. aculeata and 2 peaks in January-February and June-November for S. recurvirostra.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกกระดองชนิด Sepia aculeata และ S. recurvirostra บริเวณอ่าวไทย
กรมประมง
30 กันยายน 2552
กรมประมง
การประมงหมึกกระดองจากเครื่องมืออวนลากพาณิชย์ในอ่าวไทย ชีววิทยาปลาข้างเหลืองชนิด Selaroides leptolepis (Cuvier, 1833) ในอ่าวไทย การประเมินสภาวะทรัพยากรหมึกกระดอง ชนิด Sepia aculeta และ Sepia recurvirosta ในอ่าวไทย สภาวะแวดล้อมเขตชายฝั่งในอ่าวไทย ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลาหลังเขียว(Sardinella gibbosa(Bleeker, 1849)) ในอ่าวไทย ชีววิทยาสืบพันธุ์ของปลาทูในบริเวณอ่าวไทยตอนใน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกกล้วยชนิด Photololigo duvaucelii (d’Orbigny, 1835) และ P. chinensis (Gray, 1849) บริเวณอ่าวไทย ผลของการจำกัดแสงในช่วงระยะเจริญเติบโตที่มีต่อสมรรถภาพทางการสืบพันธุ์ของห่านพันธุ์จีน ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของหมึกสายขาว (Amphioctopus aegina (Gray, 1849)) บริเวณอ่าวไทยตอนใน การแสดงออกของพันธุ์และสายพันธุ์ถั่วฝักยาวในการปลูกแบบอินทรีย์และแบบใช้สารเคมี

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก