สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
กระสินธุ์ หังสพฤกษ์ - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
ชื่อเรื่อง (EN): Study on high stocking density for tilapia culture in close recirculating concrete pond by using solar energy
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: กระสินธุ์ หังสพฤกษ์
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN): Oreochromis niloticus
บทคัดย่อ: การทดลองเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในระบบไหลเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มตลอด (CRD) โดยมี 3 ชุดการทดลอง ชุดการทดลองละ 3 ซ้า ชุดการทดลองที่ 1 , 2 และ 3 จะเป็นการศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อที่มีระบบไหลน้าเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ โดยมีอัตราความหนาแน่น 29 ตัว/ลบ.ม. (10 ตัว/บ่อ) , 59 ตัว/ลบ.ม. (20 ตัว/บ่อ) และ 89 ตัว/ลบ.ม. (30 ตัว/บ่อ) ตามลาดับโดยทุกชุดการทดลองใช้พลังงานไฟฟ้าจากแสงอาทิตย์ 100 วัตต์ / บ่อ เพื่อต่อกับอุปกรณ์ให้อากาศ ผลการศึกษาพบว่า ตลอดระยะในการเลี้ยง 90 วัน พบว่า ลูกปลานิลที่มีน้าหนัก 22 กรัม เลี้ยงที่อัตราความหนาแน่น 43 ตัว / บ่อ ให้ผลการเลี้ยงดีที่สุดโดยมีน้าหนักที่เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย ในชุดการทดลองที่ 1 , 2 และ 3 เป็นดังนี้ 92.0620?0.945, 74.5798?0.389 และ 48.6853?0.390 ( p<0.05 ) ตามลาดับ และพบว่าในชุดการทดลองที่ 1 , 2 และ 3 มีอัตราการเจริญเติบโตต่อวันดังนี้ 1.023?0.000 , 0.829?0.000 และ 0.543?0.000 ( p<0.05 ) ตามลาดับ ส่วนอัตราการเปลี่ยนอาหารเป็นเนื้อปลาพบว่ามีผลการศึกษาในชุดการทดลองที่ 1 , 2 และ 3 ดังนี้ 2.242?0.000 , 2.592?0.000 และ 3.193?0.000 ( p<0.05 ) ส่วนอัตราการรอดตาย 100 % ของทั้ง 3 ชุดการทดลองนั้น พบว่าไม่มีความแตกต่างกัน คาสาคัญ : ปลานิล , พลังงานแสงอาทิตย์
บทคัดย่อ (EN): Study on high stocking density for tilapia (Oreochromis niloticus) culture in close recirculating pond by using solar energy for aeration. This experiment was designed in completely randomized design with 3 treatments and 3 replications. The treatment 1 , 2 and 3 were 29 individuals/m, 59 individuals/m and 89 individuals/m. This experiment found that treatment1 shown the best growth rates of treatment1,2 and 3 were 92.0620?0.945 , 74.5798?0.389 and 48.6853?0.390 ( p<0.05 ) , daily weight gain 1.023?0.00, 0.829?0.000 and 0.543?0.000 ( p<0.05 ), food conversion ratios 2.242?0.00 , 2.592?0.000 and 3.193?0.000 ( p<0.05 ). During the experiment there were no different survival between treatments. Keyword : Nile tilapia , Solar energy
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิดโดยใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
30 กันยายน 2560
การศึกษาการเลี้ยงปลานิลด้วยความหนาแน่นสูงในบ่อคอนกรีตที่มีระบบน้ำไหลเวียนแบบปิด การเลี้ยงปลานิลในกระชังด้วยระบบ LVHD (การเลี้ยงปลานิลแปลงเพศในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นสูง) การเลี้ยงปลาสายยูในบ่อดินที่ระดับความหนาแน่นต่างกัน การเลี้ยงกบนาในบ่อซีเมนต์ด้วยอัตราความหนาแน่นที่แตกต่างกัน ความต้องการการส่งเสริมการเลี้ยงปลานิลในกระชังของกลุ่มเกษตรกรจังหวัดสุรินทร์ ความหนาแน่นที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาชะโอนในบ่อดิน การทดลองเลี้ยงปลาหมอในปอซีเมนต์ การเลี้ยงปลาเสือพ่นน้ำในกระชังด้วยอัตราความหนาแน่นต่างกัน แนวทางการใช้ prebiotic และ probiotic เสริมในอาหารเลี้ยงปลานิลแปลงเพศ เพื่อเข้าสู่ ระบบฟาร์มสัตว์น้ำตามแนวทางเกษตรอินทรีย์ การใช้เทคโนโลยี bio-flocs ในการเลี้ยงกุ้งขาวและปลานิลแบบผสมผสาน

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก