สืบค้นงานวิจัย
การผลิตโพลิแซคคาไรด์ Nigeran จากซีรัมของน้ำยางพาราสดด้วยเชื้อราปนเปื้อนจากแผ่นยางดิบ
มธุรส ชัยหาญ - การยางแห่งประเทศไทย
ชื่อเรื่อง: การผลิตโพลิแซคคาไรด์ Nigeran จากซีรัมของน้ำยางพาราสดด้วยเชื้อราปนเปื้อนจากแผ่นยางดิบ
ชื่อเรื่อง (EN): Nigeran polysaccharide production from latex serum using contaminated fungi from rubber sheets
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: มธุรส ชัยหาญ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: ในจีแลน (Nigeran or Mycodextran) คือ สารในกลุ่มโพลิแซคคาไรด์ที่สามารถละลายได้ เฉพาะในน้ำร้อน ประกอบด้วย glucan ต่อกันด้วยพันธะ a, 1-4 และ ?, 1-3 linkages และ พบ เฉพาะ ผนังเซลของเชื้อรา กลุ่ม Aspergillus sp. และ Penicillium sp. เท่านั้น ในจีแลน เป็นสารตั้งต้นในการ ผลิต โอลิโกแซคคาไรด์ กลุ่มของ nigerose หรือ nigerooligosaccharide ซึ่งเป็นน้ําตาลหายาก และ มี ราคาแพง ใช้เป็นองค์ประกอบของตัวยาสําคัญหลายๆชนิดทางการแพทย์ได้ การวิจัยในครั้งนี้มี วัตถุประสงค์ คือ 1. การแยกเชื้อราปนเปื้อนในแผ่นพึ่งแห้งที่มีคุณสมบัติในการผลิตโพลิเมอร์ nigeran 2. จําแนกชนิดของเชื้อราปนเปื้อนบนแผ่นยางดิบ 3. ศึกษาการเจริญของเชื้อรา ปนเปื้อนบนแผ่นยางดิบบนอาหารที่มีส่วนผสมของ serum น้ํายางพารา 4. การสกัด และ การแยก ชนิดของไนจีแลนเบื้องต้นด้วยเทคนิคโครมาโทรกราฟฟี ผลการทดลอง พบว่า เชื้อรา 4spergillus flavus NKF-1 และ Aspergillus niger NKF-8 สามารถผลิตโพลิเมอร์ nigeran ได้สูงที่สุด เมื่อเพาะเลี้ยงในอาหารเหลว Basal medium ที่มีองค์ประกอบของ ซีรัมน้ำยางพาราสด 10 % จากนั้น นํา เส้นใยของเชื้อราที่ได้จากการเพาะเลี้ยงมาทําให้แห้งด้วยเครื่องระเหยแห้งแบบสุญญากาศ (Lyophilizer) และ นําเซลแห้งมาสกัดโพลิเมอร์ nigeran ด้วยเทคนิคโครมาโทรกราฟฟี พบว่า สารสกัดหยาบจากผนังเซลเชื้อราที่ได้มีปริมาณน้อย เมื่อยืนยันโครงสร้างด้วยเทคทิd H-NMR พบว่าไม่ใช่กลุ่มของน้ำตาลที่พบเป็นองค์ประกอบของโพลิเมอร์ nigeran และ ไม่สามารถยืนยันโครงสร้างของสารที่พบได้
บทคัดย่อ (EN): Abstract is in the attached file.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2558
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559
เอกสารแนบ: http://mdc.library.mju.ac.th/research/2561/mathurot_chaiharn_2559/fulltext.pdf
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: การยางแห่งประเทศไทย
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การผลิตโพลิแซคคาไรด์ Nigeran จากซีรัมของน้ำยางพาราสดด้วยเชื้อราปนเปื้อนจากแผ่นยางดิบ
การยางแห่งประเทศไทย
2559
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
การศึกษาเบื้องต้นในการส่งถ่ายยีนเข้าสู่ยางพาราด้วยเทคนิค Agrobacterium transformation การยับยั้งอย่างจำเพาะเจาะจงต่อการแสดงออกของยีน Rubber Elongation Factor (REF) ที่เกี่ยวข้องกับการสร้างโปรตีนก่อภูมิแพ้ในยางพาราด้วยเทคโนโลยีแอนติเซน ราที่มีศักยภาพในอุตสาหกรรมการย่อยสลายแป้งและวัสดุเหลือทิ้งทางการเกษตรจากระบบนิเวศวิทยาป่าอุทยานสัตว์ป่าอุบลราชธานี การพัฒนาอุปกรณ์วิเคราะห์น้ำยางพาราสำหรับใช้งานในสวนยางพารา การออกแบบและสร้างเครื่องวัดคุณภาพน้ำยางพาราสด ผลของสารพิษที่ผลิตโดยเชื้อรา Cercospora canescens จากถั่วเขียว โครงการฝึกอบรมการผลิตกล้ายางพาราและการปลูกยางพาราแบบมืออาชีพ ประสิทธิภาพของสารกำจัดเชื้อราประเภทดูดซึมบางชนิดต่อการเจริญเติบโตของเชื้อรา Phytophthora parasitica KK8 ซึ่งเป็นสาเหตุโรคโคนเน่าของพลู Physiologic Races ของเชื้อรา Hemileia uastatrix B. & Br ผลของเอทธิลีนต่อการให้ผลผลิตของยางพาราพันธุ์ RRIM 600 และ BPM 24

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก