สืบค้นงานวิจัย
การประมงปลาเขือแดง (Trypauchen vagina) บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช
อำนวย คงพรหม, วิรัตน สนิทมัจโร, ภัคจุฑา เขมากรณ์, สุวรรณทนา ทศพรพิทักษ์กุล - กรมประมง
ชื่อเรื่อง: การประมงปลาเขือแดง (Trypauchen vagina) บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช
ชื่อเรื่อง (EN): Fisheries of Burrowing Goby (Trypauchen vagina) in Nakhon Si Thammarat Bay
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ศึกษาการประมงปลาเขือแดงบริเวณอ?าวนครศรีธรรมราช ครอบคลุมพื้นที่อําเภอปากพนังและ อําเภอเมืองจังหวัดนครศรีธรรมราช จากเครื่องมือชนิดหลักที่ทําการประมงปลาเขือแดงคือยอป?กจํานวน 71 ตัวอย?าง และโพงพางหลักจํานวน 73 ตัวอย?างในระหว?างเดือนมีนาคม 2550 ถึงเดือนกุมภาพันธ? 2551 ทําการ เก็บตัวอย?างเดือนละ 1 ครั้งผลวิเคราะห?อัตราการจับสัตว?น้ํารวมจากยอป?ก พบว?ามีอัตราการจับเฉลี่ยของสัตว? น้ําเท?ากับ 3.406 กิโลกรัม/ปาก ประกอบด?วยกลุ?มกุ?งสูงสุดร?อยละ 50.47 รองลงมาคือ กลุ?มปลาหน?าดิน ปลา เป?ดแท? สัตว?น้ําอื่นๆ ปลาผิวน้ํา ปูและปลาหมึกร?อยละ 23.29 18.24 2.67 2.62 2.56 ละ 0.15 ตามลําดับ ปลา เขือแดงมีอัตราการจับเฉลี่ยเท?ากับ 0.129 กิโลกรัม/ปากจับได?สูงสุดในเดือนพฤศจิกายน 2550 เท?ากับ 0.386 กิโลกรัม/ปาก โพงพางหลักมีอัตราการจับเฉลี่ยของสัตว?น้ํา เท?ากับ 11.686 กิโลกรัม/ช?องกลุ?มกุ?งจับได?สูงสุด ร?อยละ 51.43 รองลงมาคือกลุ?มปลาหน?าดิน ปลาเป?ดแท?ปูปลาผิวน้ํา สัตว?น้ําอื่นๆ และปลาหมึกร?อยละ 23.71 8.98 6.91 6.47 1.76 และ 0.74 ตามลําดับ ปลาเขือแดงมีอัตราการจับเฉลี่ยสูงสุดของกลุ?มปลาหน?าดิน เท?ากับ 1.148 กิโลกรัม/ช?องจับได?สูงสุดในเดือนมกราคม 2551 เท?ากับ 2.617 กิโลกรัม/ช?อง โดยที่อัตราการ จับเฉลี่ยของปลาเขือแดงระหว?างฤดูมรสุมทั้งสองเครื่องมือแตกต?างกันอย?างมีนัยสําคัญ (p<0.05) ปลาเขือแดงที่จับด?วยยอป?กขนาดความยาวที่พบอยู?ในช?วง 3.75-19.25 เซนติเมตรความยาว เฉลี่ย 10.15?2.08 เซนติเมตร ค?าความยาวแรกจับเท?ากับ 9.51 เซนติเมตร จากโพงพางหลักขนาดที่พบอยู? ในช?วง 2.75-19.25 เซนติเมตรความยาวเฉลี่ย 12.67?3.56 เซนติเมตร ค?าความยาวแรกจับเท?ากับ 12.67 เซนติเมตร ขนาดตาอวนที่เหมาะสมสําหรับจับปลาเขือแดงของเครื่องมือทั้งสองชนิดเท?ากับ 2.35 เซนติเมตร ปลาเขือแดงที่จับได?มีขนาดความยาวเฉลี่ยน?อยกว?าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ?โดยพบว?าจากยอป?กมี ขนาดความยาวน?อยกว?าขนาดแรกเริ่มสืบพันธุ?ร?อยละ 97.98 และจากโพงพางหลักร?อยละ 92.77 ปลาเขอแดง ื มีค?าความยาวอนันต? เท?ากับ 19.90 เซนติเมตร และค?าสัมประสิทธิ์การเติบโต เท?ากับ 1.05 ต?อป?
บทคัดย่อ (EN): Study on burrowing goby fisheries in Nakhon Si Thammarat Bay covering the areas of Pak Panang and Muang District of Nakhon Si Thammarat Province from 2 main fishing gears, i.e. fence trap with scoop net (71 units) and stow net (73 units), was monthly conducted during March 2007-February 2008. The results showed that the overall catch per unit effort (CPUE) of fence trap with scoop net was 3.406 kg/unit. Its highest catch composition was shrimps (50.47%), followed by demersal fish (23.29%), trash fish (18.24%), others marine species (2.67%), pelagic fish (2.62%), crabs (2.56%) and cephalopod (0.15%). The average CPUE of burrowing goby (Trypauchen vagina) was 0.129 kg/unit with the maximum obtained in November 2007 (0.386 kg/unit). For stow net, it was found that the average CPUE was 11.686 kg/unit. Its highest catch composition was also shrimps (51.43%), followed by demersal fish (23.71%), trash fish (8.98%), crabs (6.91%), pelagic fish (6.47%), others marine species (1.76%) and cephalopod (0.74%). Considering demersal fish group, burrowing goby had the highest average CPUE, which was 1.148 kg/unit with the maximum obtained in January 2008 (2.617 kg/unit). The CPUEs of burrowing gobies obtained during 2 monsoon seasons were significantly different for both fishing gears (p<0.05). Burrowing gobies caught by fence trap with scoop net had total length rang from 3.75-19.25 (10.15?2.08) cm, while the size at first capture was 9.51 cm, whereas those size caught by stow net was rang from 2.75-19.25 (12.67?3.56) cm, whereas with the size at first capture was 12.67 cm. The optimum mesh size of both fishing gears was 2.35 cm. The average size of burrowing gobies caught by both fishing gears was smaller than their first mature size. It was also found that 97.98% and 92.77% of burrowing gobies caught by fence trap with scoop net and stow net were smaller than those fish at first maturity. The asymptotic length (L?) of burrowing gobies was 19.90 cm, and their growth parameter coefficient (K) was 1.05 per year.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2549-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมประมง
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การประมงปลาเขือแดง (Trypauchen vagina) บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช
กรมประมง
30 กันยายน 2551
กรมประมง
ชีววิทยาบางประการของปลาเขือแดงชนิด Trypauchen vagina (Bloch and Schneider, 1801) บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช คุณภาพน้ำบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช การประมงทะเลพื้นบ้านบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช ความชุกชุมของสัตว์น้ำบริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช ชีววิทยาการสืบพันธุ์ของปลากระบอกดำ (Liza subviridis) บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช การศึกษาสภาวะทรัพยากรประมงทะเลเพื่อการฟื้นฟูอ่าวนครศรีธรรมราช ชีววิทยาบางประการของปูทะเลชนิด Scylla serrata (Forskal, 1755) บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช ความชุกชุมของปลาบริเวณปะการังเทียม จังหวัดนราธิวาส พลวัตของสังคมเกษตรบริเวณเขตชายฝั่งอ่าวปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช ชนิดและการแพร่กระจายของปลาและกุ้งน้ำวัยอ่อน บริเวณอ่าวนครศรีธรรมราช

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก