สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาเปรียบเทียบผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อยชนิดโมโนวาเลนท์และชนิดไตรวาเลนท์ในสุกร
ผศ.นสพ. เทิดศักดิ์ ญาโน - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การศึกษาเปรียบเทียบผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อยชนิดโมโนวาเลนท์และชนิดไตรวาเลนท์ในสุกร
ชื่อเรื่อง (EN): Comparative study of immune response of monovalent and trivalent Foot and Mouth Disease vaccine in Swine
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ผศ.นสพ. เทิดศักดิ์ ญาโน
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบผลการตอบสนองท างภูมิคุ้มกันต่อ วัคซีนโรคปาก และเท้าเปื่อยชนิดโมโนวาเลนท์และไตรวาเลนท์ในสุกรขุน โดยทำการศึกษาเปรียบเทียบในสุกรขุน ทำการศึกษาในกลุ่มสุกรที่ทำวัคซีนโรคปากและเท้าเปื่อยชนิดโมโนวาเลนท์ชนิตไทป์ โอ และชนิดไตรวา เลนท์ ที่อายุ 8 สัปดาห์ และ 10 สัปดาห์ กับกลุ่มสุกรขุนที่ไม่ได้รับวัคซีน โดยมีสุกรกลุ่มละ 8 ตัว แล้วทำการ เจาะเก็บตัวอย่างเลือดและซึรั่ม จำนวน 7 ครั้ง โตยเริ่มต้นเก็บก่อนฉีดวัคนเข็มแรก แล้วเก็บทุก 2 สัปดาห์ หลังฉีตวัคซีนเข็มแรกจำนวน 5 ครั้ง และรั้งสุดท้ายเก็บที่ 13 หลังฉีดวัคซีนเข็มแรก หลังจากนั้นทำการ ตรวจการตอบสนองของภูมิคุ้มกันชนิดสารน้ำ โดยการวัตระดับแอนติบอดี ด้วยวิธี LP.ELISA (Liquid phase blocking ELISA) และการตอบสนองของภูมิคุ้มกันชนิดเซลล์ โดยการตรวจวัดการตอบสนองของ เชลล์ลิมโฟไซต์ (ymphocyte proliferation assay) เพื่อทำการเปรียบเทียบผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า กลุ่มที่ให้วัคซีนซนิดโมโนวาเลนท์ชนิดไทป์โอ มีระตับแอนติบอดีต่อไวรัสโรคปาก และเท้าเปื่อยชนิดไทป์ โ ได้ดีกว่า ในขณะที่ การตอบสนองของภูมิคุ้มกันชนิดเซลล์ต่อไวรัสโรคปากและ เท้าเปื่อยซนิดไทป์ โอ เกิดขึ้นต้ไม่ดีนัก ในทั้งสองกลุ่ม และพบว่าช่วงที่ทำการศึกษานั้น มีการระบาดของ โรคระบบสืบพันธุ์ในและระบบหายใจสุกรล้มเหลว หรือ พีอาร์อาร์เอส เมื่อทำการตรวจสอบระดับภูมิคุ้มกัน ต่อโรคพีอาร์อาร์เอส ก็พบว่า สุกรทั้งสามกลุ่ม มีระดับภูมิคุ้มกันที่อยู่ในระดับที่ถือว่าติดเชื้อ จึงมีความ เป็นไปได้ว่า มีการติดเชื้อแต่ไม่แสดงอาการในระหว่างการทดลอง การศึกษานี้จึงไม่อาจสรุปได้ถึงความ แตกต่างของผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อวัคชีนโรคปากและเท้าเปื่อยชนิดโมโนวาเลนท์และไตรวา เลนท์ในสุกร แต่บ่งชี้ให้เห็นว่า การติดเชื้อพีอาร์าร์เอส รบกวนการสร้างภูมิคุ้มกันจากการทำวัคชีนโรคปาก และเท้าเปื่อย โดยเฉพาะวัคนชนิดไตรวาเลนท์
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to compare the immunity responses between finishing pigs which vaccinated with monovalent and trivalent Foot and Mouth Disease (FMD) vaccine. The comparative study was performed among 3 groups. Pigs in the monovalent FMD vaccine group and trivalent FMD vaccine group were vaccinated at 8 and 10 weeks old. These 2 groups were compared the results among each other and control group. Each group consisted of 8 pigs. Whole blood and serum were collected 7 times. Sample collection was started at pre- vaccination stage, then was collected every two weeks for 5 times. Finally, the latest collection was performed at 13 weeks after 1" vaccinated week. All samples were determined the response of humoral immunity (HMI) by LP-ELISA (Liquid phase blocking ELISA) and cell- mediated immunity (CMI) by a lymphocyte proliferation assay (LPA). The results indicated that the monovalent FMD vaccine group had antibody level against FMD virus higher than trivalent FMD vaccine group. Meanwhile, the CMI response of both groups showed low response. During the study period, the porcine reproductive and respiratory syndrome (PRRSV) was outbreak around the study farm. The PRRS antibody of study pigs was tested and infective antibody level was showed in all study groups. Thus, this study could not summarize the efficacy of monovalent and trivalent FMD vaccine. However, it could indicate that PRRS infection disturbed the immunity response of FMD vaccination, especially trivalent vaccine.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาเปรียบเทียบผลการตอบสนองทางภูมิคุ้มกันต่อวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อยชนิดโมโนวาเลนท์และชนิดไตรวาเลนท์ในสุกร
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
30 กันยายน 2552
โครงการนำร่องการจัดทำระบบคอมพาร์ทเมนต์สุกร เพื่อรับรองสถานภาพปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยและโรคอหิวาต์สุกรเพื่อการส่งออก การพัฒนาการตรวจวินิจฉัยโรคปากและเท้าเปื่อย โดยวิธี Real-Time PCR การศึกษาด้านระบาดวิทยาระดับโมเลกุลของไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยที่ระบาดในประเทศไทยและระดับภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ระหว่างปี พ.ศ.2553-2555 การพัฒนา recombinant 3ABC-based ELISA เพื่อวินิจฉัยสัตว์ที่ติดเชื้อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยออกจากสัตว์ที่ได้รับวัคซีน การพัฒนา recombinant 3ABC-based ELISA เพื่อวินิจฉัยสัตว์ที่ติดเชื้อไวรัสโรคปากและเท้าเปื่อยออกจากสัตว์ที่ได้รับวัคซีน สูตรอาหารสุกร การตรวจหา Suilysin และโปรตีนที่เกี่ยวข้องกับความรุนแรงของ เชื้อสเตรปโตคอคคัส ซูอิส ที่แยกได้จากสุกรป่วย สุกรปกติที่เป็นพาหะของโรคและคนที่เกี่ยวข้องโดยใช้เทคนิค PCR ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร4)สุกรเล็ก(นน.10-20 กก.) ระดับโภชนะที่เหมาะสมในอาหารสำหรับสุกร4)สุกรเล็ก(นน. 50-90กก.) การพัฒนากระบวนการผลิตแอนติบอดีชนิด IgY จากไข่ไก่เพื่อต้านทาน โรค PED ในสุกร

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก