สืบค้นงานวิจัย
พันธุ์กาแฟอาราบิก้าในประเทศไทย
อาภรณ์ ธรรมเขต - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: พันธุ์กาแฟอาราบิก้าในประเทศไทย
ชื่อเรื่อง (EN): Arabica Coffee Varieties in Thailand
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: อาภรณ์ ธรรมเขต
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Arporn Tummakate
คำสำคัญ: กาแฟอาราบิก้า
บทคัดย่อ: การแฟอาราบิก้าเป็นพืชสำคัญทางเศรษฐกิจของภาคเหนือของประเทศไทย ได้รับการพิจารณาเป็นพืชปลูกทดแทนฝิ่นบนภูเขา กาแฟอาราบิก้าได้ถูกนำเข้ามาในประเทศหลายครั้ง โดยหน่วยงานของรัฐและเอกชน พันธุ์กาแฟอาราบิก้าที่สำคัญในประเทศไทย ได้แก่ พันธุ์ Typica, Bourbon, Caturra, Catuai, Mundo Novo, Blue Mountain, K.7, S.L. 28 และ S. 795 และ Hibrido de Timor สวนพวกลูกผสม ได้แก่ Arabusta, Icatu และ Catimor กาแฟอาราบิก้าทั้งพันธุ์แท้และลูกผสมเหล่านี้ได้ถูกนำเข้ามาจากประเทศบราซิล อินเดีย คีเนีย และโปรตุเกส ในช่วงระยะแรก พันธุ์ Typica, Bourbon, Caturrra และ Catuai ได้ปลูกกันแพร่หลายแต่เนื่องจากพันธุ์เหล่านี้อ่อนแอต่อโรคราสนิมจึงเสื่อมความนิยมไป ในช่วงระยะเร็ว ๆ นี้ Catimor ได้รับความนิยมมาก เพราะนอกจากจะต้านทานต่อโรคราสนิมแล้ว ยังให้ผลผลิตสูงอีกด้วย
บทคัดย่อ (EN): Coffea arabica is a crop of increasing economic importance in teh highlands of Northern Thailand. In part, it is considered a potential replacement crop to opium poppy in this region. Both the government and private sectors have been responsible for the intorduction of a range of varieties of arabica coffee; the most important are Typica, Bourbon, Mundo Novo, Caturra, Catuai, Blue Mountain, K. 7, S.L. 28, S. 795 and Hibrido de Timor. Among the important hybrids are Arabusta, Icatu and Catimor. The sources of these introductions have been Brazil, India, Kenya and Portugal. Initially the varieties, Typica, Bourbon, Caturra and Catuai were the most popular; however, they proved susceptible to coffee leaf rust. More recently the variety Catimor has become popular on account of a combination of resistance to coffee rust and high production potential.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2528
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2528
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
พันธุ์กาแฟอาราบิก้าในประเทศไทย
กรมวิชาการเกษตร
2528
เอกสารแนบ 1
อิทธิพลของอุณหภูมิต่อกาแฟอาราบิก้า โครงการวิจัยและปรับปรุงพันธุ์กาแฟอาราบิก้าโดยวิธีการผสมพันธุ์ สภาพแวดล้อมสำหรับการเจริญของกาแฟอาราบิก้า ปฏิกิริยาของกาแฟอาราบิก้า คาทิมอร์ ต่อโรคราสนิม การสำรวจแมลงศัตรูกาแฟอาราบิก้าและแมลงศัตรูธรรมชาติในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย การปรับปรุงพันธุ์กาแฟอาราบิก้าลูกผสมสายพันธุ์ Catmimor CIFC 7963-13-28 อนุกรมวิธานของฟิล์มมี่เฟิร์นสกุล Hymenophyllum s.l. (Hymenophyllaceae) ในประเทศไทย เกษตรอินทรีย์และมาตรฐานการส่งออกของประเทศไทย การพัฒนากลิ่นรสกาแฟพันธุ์อาราบิก้าจากผลิตผลพลอยได้ของกระบวนการแปรรูปกาแฟ บทบาทของศาสนาพุทธในการพัฒนาชนบทของประเทศไทย

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก