สืบค้นงานวิจัย
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ
รศ.ดร.ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ
ชื่อเรื่อง (EN): Development of purple rice products for elderly person
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: รศ.ดร.ชนากานต์ เทโบลต์ พรมอุทัย
คำสำคัญ: ข้าวก่ำ
คำสำคัญ (EN): Purple rice
บทคัดย่อ:                การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ส่งเสริมสุขภาพและความงามของผู้สูงอายุ ให้เหมาะสมกับความต้องการทางโภชนาการและพฤติกรรมของผู้สูงอายุ และส่งเสริมการผลิต เพิ่มมูลค่าข้าวก่ำพันธุ์พื้นเมืองท้องถิ่นที่มีคุณค่าพิเศษอยู่ในเมล็ดจำนวนมาก โดยมาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด ได้แก่ ข้าวก่ำผสมสูตรหอม อ่อนและนุ่ม และผลิตภัณฑ์มาส์กหน้าจากรำข้าวก่ำ
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2555-06-26
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2556-06-25
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2555
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
25 มิถุนายน 2556
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวก่ำสำหรับผู้สูงอายุ การพัฒนาข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม : การพัฒนาวิธีการสกัดแยกสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากข้าวก่ำ, และการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่มจากข้าวก่ำล้านนาสู่อุตสาหกรรม แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน แป้งข้าวก่ำดัดแปรและผลิตภัณฑ์จากข้าวก่ำเพื่อประโยชน์ด้านสุขภาพ เชิงป้องกัน การศึกษากระบวนการผลิตข้าวก่ำเปลือกนึ่ง เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาผลิตภัณฑ์มูลค่าเพิ่ม การเพิ่มมูลค่าข้าวไทยด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่นไทย: การพัฒนาผลิตภัณฑ์อาหารเพื่อสุขภาพโพรไบโอติกและเวชสำอางจากผลิตผลพลอยได้จากกระบวนการหมักข้าวฮางงอกและข้าวก่ำสายพันธุ์ KKU URL0381 การศึกษาความคงตัวของตำรับโพรไบโอติกอัดเม็ดที่ได้จากข้าวหมักของฮางงอกและข้าวก่ำสายพันธุ์ KKU URL0381 การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขึ้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท (ต่อเนื่องปีที่ 2) การใช้เทคนิคสนามไฟฟ้าความต่างศักย์สูงกระตุ้นเป็นจังหวะเพื่อเตรียมขั้นต้นในการสกัดสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพจากต้นอ่อนข้าวก่ำเพื่อป้องกันมะเร็งและการเสื่อมของเซลล์ประสาท การตรวจลายพิมพ์ดีเอ็นเอเพื่อรองรับการขึ้นทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญาของข้าวก่ำพะเยา

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก