สืบค้นงานวิจัย
ผลของสัดส่วนของกรดไขมันโอเมก้า-6 ต่อโอเมก้า-3 (n-6:n-3)ในอาหารต่อประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตและองค์ประกอบของไขมันในเนื้อแพะ
ปราโมทย์ แพงคำ - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
ชื่อเรื่อง: ผลของสัดส่วนของกรดไขมันโอเมก้า-6 ต่อโอเมก้า-3 (n-6:n-3)ในอาหารต่อประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตและองค์ประกอบของไขมันในเนื้อแพะ
ชื่อเรื่อง (EN): Effects of dietary Omega-6 and Omaga-3 (n-6:n-3) fatty acid ratio on productive performances and fatty acid profiles in goat meat
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปราโมทย์ แพงคำ
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ การศึกษาผลของชนิด ปริมาณ สัดส่วนของกรดไขมันในอาหาร ต่อ ปริมาณการกิน ได้ การย่อยได้ กระบวนการหมัก และชนิดของกรคไขมันในเนื้อแพะ การศึกษาแบ่งเป็น 3 การทดลอง การทคลองที่ 1 ใช้แพะเนื้อลูกผสมเพศผู้พันธุ์พื้นเมืองและแองโกลนูเบี้ยน น้ำหนักเฉลี่ย 17 3.5 กก. จำนวน 24 ตัว วางแผนการทคลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบล็อค (Randomized completely block design, RCBD) ประกอบด้วขอาหารข้น 4 กลุ่มการทคลอง คือ T1- กลุ่มควบคุม ไม่เสริมน้ำมันพืช, T2- กลุ่มควบคุม + เสริมน้ำมันทานตะวัน 5 %, T3- กลุ่มควบคุม + เสริมน้ำมันปาถัม 5 % และ T4= กลุ่ม ดวบคุม + เสริมน้ำมันถั่วเหลือง 5 % โดยเสริมอาหารข้น 1.5 เปร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว และข้าวโพดหมัก โดยให้กินอย่างเต็มที่ ผลการศึกษาพบว่า ปริมาณการกินได้ การย่อยได้ของปริมาณการย่อยได้ของวัตถุแห้ง (DM) อินทรียวัตถุ (OM) โปรตีนหยาบ (CP) เชื่อใที่ละลายในสารละลายที่เป็นกรด (ADE) ความเป็นกรด- ต่างในรูเมน แอมโมเนีย-ไนโตรเจนในรูเมน พบว่าไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0 0.5) อย่างไรก็ตาม การย่อยได้ของไขมันของแพะในกลุ่มที่ได้รับน้ำมันทานตะวัน น้ำมันปาล์มและน้ำมันถั่วเหลือง พบว่าสูง กว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P0.05) ในขณะที่กรดไขมัน ชนิด C18:0 และ C20:476 ของแพะที่ได้รับเมล็ดถั่วเหลืองอย่างเดียวมีด่าสูงกว่ากลุ่มอื่นอย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติ (P<0.05) และยังพบว่ากรดไขมันชนิด C18:1n9, CLA, C22:2, C22:6n3 และ PUFA ของแพะในกลุ่มที่ ได้รับเมล็คธัญพืช และเสริมน้ำมันทานตะวันมีค่าสูงกว่าแพะ ในกลุ่มที่ได้รับเมล็ดธัญพืชเพียงอย่างเดียว อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กลุ่มที่ใช้เมล็ดถั่วเหลืองดีกว่ากลุ่มที่ใช้เมล็ดทานตะวัน และในกลุ่มที่มี การเสริมน้ำมันทานตะวันเพิ่มทำให้สัดส่วนของ n6:13 ลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) ซึ่งจะส่งผล ดีต่อผู้บริโภค การทคลองที่ 3 ใช้แพะเนื้อถูกผสมเพศผู้ พันธุ์พื้นเมืองและแองโกลบูเบี้ยน น้ำหนักเริ่มต้นเฉลี่ย 18.5 + 4.5 กก. จำนวน 24 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบล็อค (Randomized completely block design, RCBD) ประกอบด้วยอาหารข้น 4 กลุ่มการทคลอง คือ T1= อาหารข้นที่มีสัดส่วนของ 1-6;-3 = 1:1, T2= สัดส่วนของ n-6:0-3 = 2:1 , T3= สัดส่วนของ n-6:0-3 = 4:1 , T4= สัดส่วนของ n-6:0-3 = 8:1 โดย เสริมอาหารข้น 1.5 เปอร์เซ็นต์ของน้ำหนักตัว และข้าวโพดหมักโดยให้กินอย่างเต็มที่ ผลการทดลองพบว่า สัดส่วนของ :6:33 ไม่มีผลต่อปริมาณการกินได้ การย่อยได้ของโภชนะ อัตราการเจริญเติบโตต่อวัน คุณภาพ ซาก สีของเนื้อ ความเป็นกรด-ด่างของเนื้อ คุณภาพเนื้อและองค์ประกอบทางเดมีของเนื้อแพะส่วน Longissimus dorsi, Tricep brachii, และ Semimembranosus ค่า Drip loss, Water holding capacity โปรตีน และอินทรียวัตถุ และพบว่าไขมันในเนื้อทุกส่วนที่วัด ของกลุ่มที่มีสัดส่วน ซ6า3 ที่ 1:1 และ 1:2 มีค่าสูงกว่า กลุ่ม 1:4 และ 1:8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) กล้ามเนื้อ Longisimus dorsi ประกอบด้วย C18:0, C182n6, C20:3n6 และ total :6 ของแพะกลุ่มที่ได้รับสัดส่วนกรดไขมัน:6:03 ที่ระดับ 1:4 และ 1:8 สูงกว่า ในแพะกลุ่มที่ได้รับสัดส่วน 1:1 และ 1:2 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และยังพบว่า C18:1n9, CLA, C18:3n3, C22:2, C22:6n3 PUFA, PUFASFA และ total 13 ในแพะกลุ่มที่ได้รับสัดส่วน 1:1 และ 1:2 สูง กว่าในแพะกลุ่มที่ได้รับสัดส่วนที่ระดับ 1:4 และ 1:8 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) และยังพบว่าแพะ ในกลุ่มที่ได้รับสัดส่วนไขมันสัดส่วน 1:1 มีค่าสัดส่วนของ n6:33 แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (P<0.001) กับแพะที่ได้รับสัดส่วน 1:2, 1:4 และ 1:8 ตามลำดับ คำสำคัญ : กรดไขมัน โอเมก้า 3 โอเมก้า 6 แพะ คุณภาพซาก คุณภาพเนื้อ
บทคัดย่อ (EN): The objective of this study was to investigate the effects of fatty acid sources, levels or propotions in diets on feed intake, digestibility, rumen fermnentation and fatty acid profiles in goat meat. Three groups experiments were carried out. Experiment 1: The aim of this study was to investigate the effects of difference of plant oil in meat goat rations with respect to productivity, rumen fermentation and meat fatty acid profiles. Twenty- four male meat goats (Native x Anglo-Nubian) with body weight (BW) of 17:3.5 kg were used. The experiment was assigned in a randomized complete block design (RCBD). There were four different concentrate treatments: with different sources of plant oils such as T1= control (no oils), T2= sunflower oil 5 %, T3 = palm oil 5 % and T4 = soybean oil. Goats were fed with corn silage ad libitum as roughage and supplemented with 1.5 % BW of concentrate. The results showed that feed intake (g/d, %BW, g/kgBw075), Dry matter, organic matter, crude protein and neutral detergent fiber (NDF) digestibility, rumen pH, ruminal ammonia nitrogen (NH,-N), blood urea nitrogen (BUN) of goats fed with different of plant oil were not significant (P>0.05). However, lipid digestibility of goats fed with all groups of plant oil were significantly higher (P0.05). Nevertheless, drip loss, water holding capacity, protein and organic matter of Longissimus dorsi, Tricep brachi, and Semimembranosus of goats fed with dietary n6:n3=1:1 or 1:2 were significantly higher (P<0.05) than goats fed those n6:03- 1:4 and 1:8, respectively. Moreover, C18:1n9, CLA, C18:3n3, C22:2, C22:6n3, PUFA, PUFA/SFA and total n3 of goats fed with dietary n6:n3=1:1 or 1:2 were significantly higher (P<0.05) than goats fed those n6:03= 1:4 and 1:8. Goats fed with n6:n3, 1:1 were highly significant (P<0.001) than goats fed with n6:n3, 1:2, 1:4 and 1:8, respectively. Keywords: Fatty acid, omega 3, omega 6, goat, carcass quality, meat quality
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2552-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2555-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของสัดส่วนของกรดไขมันโอเมก้า-6 ต่อโอเมก้า-3 (n-6:n-3)ในอาหารต่อประสิทธิภาพในการให้ผลผลิตและองค์ประกอบของไขมันในเนื้อแพะ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
30 กันยายน 2555
อัตราส่วนระหว่างกรดไขมันชนิดโอเมก้า-6 และโอเมก้า-3 ในอาหาร ที่มีผลต่อการปรับปรุงส่วนประกอบของกรดไขมันในไข่และเนื้อไก่ ชนิดของไขมันที่เหมาะสมในอาหารปลาหมอ ความสัมพันธ์ของยีน Bovine Sterol Regulatory Element Binding Protein-1 (SREBP-1) และลักษณะองค์ประกอบกรดไขมันของซากโคพื้นเมืองไทย ผลผลิต องค์ประกอบและการใช้ประโยชน์ของน้ำหวานต้นจากในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง ความสัมพันธ์ของยีน Stearoyl-CoA Desaturase (SCD 1) และลักษณะองค์ประกอบกรดไขมันของเนื้อโคพื้นเมืองไทย ผลของอาหารหยาบคุณภาพดีต่อคุณภาพเนื้อและสัดส่วนของกรดไขมันในเนื้อโค การผลิตกรดไขมันผสมเพื่อใช้เป็นสารมาตรฐานในการศึกษาแบบแผนชนิดของกรดไขมันด้วยก๊าซโครมาโตกราฟี ประสิทธิภาพการผลิตแพะตามกิจกรรมศูนย์ผลิตและกระจายแพะพันธุ์ดี สัดส่วนกรดไขมัน n3:n6 ที่เหมาะสมในอาหารต่อการเจริญเติบโตของปลาสวายโมงขนาดเล็ก ผลของชนิดและระดับของกรดไขมันในอาหาร ต่อจุลินทรีย์ในรูเมนความสามารถในการย่อยได้ของโภชนะ การผลิตแก๊สมีเทน ประสิทธิภาพการให้ผลผลิต และคุณภาพเนื้อของแพะ

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก