สืบค้นงานวิจัย
โครงการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดมังคุด ของสถาบันวิจัยเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จุฑามาศ เจริญพงษ์มาลา - มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อเรื่อง: โครงการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดมังคุด ของสถาบันวิจัยเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
ชื่อเรื่อง (EN): The Design and Development Packaging Mixing Mangosteen Extraction Soap of Chemical Research Institute, Rajamangala University of Technology Thanyaburi
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: จุฑามาศ เจริญพงษ์มาลา
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: คมสัน เรืองโกศล
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: งานวิจัขนี้มีวัตถุประสงค์ ()เพื่อศึกษาความต้องการและแนวคิดในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ สบู่ผสมสารสกัดมังคุด ของคณะวิทยาศาสตร์และเทค นโลยื มหาวิทยาลัยเทคโน โลยีราชมงคลธัญบุรี 2) เพื่อออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ สบู่ผสมสารสกัดมังคุด ของคณะวิทยาศาสตร์และเทคโน โลยี มหาวิทยาลัยเทคโน โลยีราชมงคลธัญบุรี 3) เพื่อประเมินความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบบรรจุภัณฑ์สบู่ ผสมสารสกัดมังคุดของกลุ่มผู้ผลิต กลุ่มผู้บริโภค ผู้เชี่ขวชาญค้นบรรจุภัณฑ์ ที่สู้วิจัยพัฒนาขึ้นใหม่ กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 235 คน ได้แก่ กลุ่มผู้ผลิต กลุ่มผู้บริโภค กลุ่มผู้เชี่ยวชาญค้านบรรจุ ภัณฑ์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ แบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูล ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ( X ) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน(S.D.) โดยมีค่าความเชื่อมั่น 987 ผลการวิจัยพบว่า ผู้ผลิตมีความต้องการบรรจุภัณฑ์สำหรับใส่ผลิตภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุด แบ่งเป็น 3ผลิตภัณฑ์ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์สบู่ก้อนขนาด 80 กรัม ผลิตภัณฑ์ครีมล้างหน้าบรรจุขวด ขนาด 100 มล. ผลิตภัณฑ์สบู่เหลวบรรจุขวด ขนาด 400 มล. แนวคิดในการออกแบบขวดได้แรง บันดาลใจมาจากขนนก สื่อให้เห็นถึงความอ่อน โยน ความนุ่มนวล ความสวยงามและความสบาย นำมาใช้ในการออกแบบขวดครีมล้างหน้า ขนาด 100 มล. ขนาดกว้าง 36.7 ยาว 45.4 สูง100.3 มม. และขวดสบู่เหลว ขนาด 400 มล.ขนาดกว้าง 50.2 ยาว 67.5 สูง165.7 มม. การออกแบบขวดแนวคิด เชิงนิเวศเศรษฐกิจ Eco Design มาประยุกต์ใช้ ด้วยการจัดวางตัวอักษรเบรลล์ด้านข้างขวด สำหรับ ผู้ด้อยโอกาสทางสายดา โครงสร้างบรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุด ขนาด 80 กรัม ขนาดกว้าง 60 มม. ยาว 90 มม. สูง 35 มม. การใช้งานเป็นแบบการเลื่อน ด้านข้งสามารถ เปิด-ปิด กล่อง ได้ง่าย ขนาดเหมาะสมกับการจับได้ถนัดมือ สามารถนำกลับมาใช้ประ โยชน์ใหม่ได้ การออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์ สบู่ผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุด พบว่า ผู้บริ โภคมี ความพึงพอใจผลการออกแบบสบู่ก้อนผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุด ขนาด 80 กรัม รูปแบบที่ 6 อยู่ ในระดับมาก ( X = 3.86)( SD=94) การศึกษาความพึงพอใจโครงสร้างบรรจุภัณฑ์ในภาพรวมพบว่า ผู้เชี่ยวชาญค้านบรรจุ ภัณฑ์มีความคิดเห็นต่อ โครงสร้างบรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดจากเปลือกมังดุดขนาด 80 กรัม รูปแบบที่ 1 อยู่ในระดับมากที่สุด ( X - 4.53)(SD.- .59) โครงสร้างขวดครีมล้างหน้าผสมสารสกัด จากเปลือกมังคุด ขนาด 100 มล. รูปแบบที่ 3 อยู่ในระดับมาก ( X - 4.08(SD=.74) โครงสร้าง ขวดสบู่เหลวผสมสารสกัดมังคุด ขนาด 400 มล. รูปแบบที่ 3 อยู่ในระดับมาก ( X = 4.05)( SD.=.78) การประเมินความพึงพอใจรูปแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ในภาพรวมพบว่า กลุ่มผู้ผลิต ผู้บริ โภค และผู้เชี่ยวชาญด้านบรรจุภัณฑ์ มีความคิดเห็นต่อรูปแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์สบู่ผสม สารสกัดจากเปลือกมังคุด ขนาค 80 กรัม รูปแบบที่ 2 อยู่ในระดับมาก (X -4.23)(SD-.76) รูปแบบ กราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ครีมล้างหน้าผสมสารสกัดจากเปลือกมังคุด ขนาค 100 มล. รูปแบบที่ 2 อยู่ใน ระดับมาก ( X - 4.29)(SD-0.78) รูปแบบกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์สบู่เหลวผสมสารสกัดจากเปลือก มังคุดขนาด 400 มล. รูปแบบที่ 2 อยู่ในระดับมาก (X - 4.28(SD-0.77)
บทคัดย่อ (EN): The purpose of this research1. To study the needs and ideas in Packaging design for Mixing Mangosteen Extract Soap of Faculty of Science and Technology , Rajamangala University of Technology Thanyaburi 2. To Design and Develop Packaging for Mixing Mangosteen Extract Soap of Faculty of Science and Technology, Rajamangala University of Technology Thanyaburi. 3. To Assess Satisfaction with the pattern of Packaging for Mixing Mangosteen Extract Soap of manufacturers ,consumers and packaging professionals newly created by researchers . Subject group for this research study: The group of 235 people for this survey research came from various groups of people there are producer, consumer groups, packaging experts. The research had constructed by interviews and questionnaires then analyzed by percentiles value (%), mean value ( X )and standard division( S.D.) value which has reliability value of 0.987. The results of research showed that manufacturers need packaging for mixing mangosteen extract soap, dividing into three products which were 80 grams pack soap products, 100 ml facial cream products in bottle and 400 ml liquid soap in bottle . The idea of bottle design is inspired by feathers. They are applied in the design of 100 ml bottle of facial cream with 36.7 mm in width , 45.4 mm in length , 100.3 mm in height and 400 ml bottle of liquid soap with 50.2 mm wide , 67.5 mm long , 165.7 mm high in order to convey for the tenderness ,sofiness ,beauty and comfort. Besides, the concept of Eco Design is applied in the bottle design by placing Braille letters on the side of bottle for the visually disadvantaged people. The structure of packaging for 80 grams mixing mangosteen extract soap with 60 mm wide ,35 mm high , 90 mm long can be opened by slide side and easy to close the box. It also has the right size for handy catch and can be in renewable use. Design and Development of Packaging for Mixing Mangosteen Extract Soap found that consumers were satisfied with the design model of 80 grams mixing mangosteen extract pack soap in sixth form at a high level( X = 3.86) ( SD= .94) The study of satisfaction of the packaging structure overall revealed that packaging experts have opinions about the structure of packaging for a 80 grams mixing mangosteen extract soap in Form 1 at the highest level. ( X= 4.53) (SD.= .59), a 100 ml facial cream bottle of mixing mangosteen extract in Model 3 at high (= 4.08) (SD. =, 74). and a bottle of liquid soap mixed with mangosteen extract ,400 ml. size in Model 3 at high (X =4.05) (SD.=.78) Satisfaction evaluation of graphic form found on the packaging overall showed that manufacturer, consumer and packaging expert groups expressed opinions in graphic design on the packaging of 80 grams mixing mangosteen extract soap in model 2 at a high level( = 4.23) (SD =. 76), graphic form on the packaging of 100 ml facial cream mixed with mangosteen extract in pattern 2 at a high level ( X = 4.29) (SD = 0.78) and graphic form on the packaging of 400 ml mixing mangosteen extract soap in pattern 2 at a high level ( X = 4.28) (SD = 0.77).
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
โครงการออกแบบและพัฒนาบรรจุภัณฑ์สบู่ผสมสารสกัดมังคุด ของสถาบันวิจัยเคมี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
30 กันยายน 2552
การยอมรับเทคโนโลยีการเลี้ยงสัตว์แบบผสมผสาน การศึกษาวิธีการแปรรูปและการเก็บรักษามังคุด แผนงานพัฒนาขีดความสามรถทางเทคโนโลยีและวิจัยของภาคเอกชนในพื้นที่ การวิจัยและพัฒนาสารสกัดจากว่านอึ่งเพื่อใช้ประโยชน์ในอาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ระยะ ๔ การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดใบกฤษณาเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์สุขภาพ โครงการนำร่องทดสอบสรออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสมุนไพรไทยที่สามารถพัฒนาไปเป็นยาหรือผลิตภัณฑ์ดูแลสุขภาพ ภายใต้โครงการเวชนคร (Medicopolis) เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวมะนาว ผลของสารสกัดบริสุทธิ์จากสมุนไพรต่อการยับยั้นการเจริญของเชื้อ Pythium insidiosum (คปก. ต่อยอด) การวิจัยและพัฒนามังคุดนอกฤดูและในฤดูเชิงพาณิชย์ในเขตจังหวัดพิษณุโลก ฤทธิ์การต้านจุลชีพของสารสกัดจากใบมะกรูด

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก