บทคัดย่อ: |
ชุดโครงการวิจัยการศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงจำปา สัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เนื้อหาประกอบด้วย 5 ชุดโครงการย่อยคือความ หลากหลายทางชีวภาพของพืชสมุนไพรและเห็ดในเขตปากซอง ความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ ปีกในแขวงจำปาสัก ภูมิปัญญาท้องถิ่นทางศิลปวัฒนธรรม ภาษาและประเพณีเกี่ยวกับข้าว และ ข้อมูลสารสนทศในแขวงจำปาสัก ผ้าทอพื้นเมืองและของที่ระลึกในแขวงจำปาสักเพื่อเป็นต้นแบบ ผลิตภัณฑ์ชุมชน และการถ่ายทอดองค์ความรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นใน แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนสาวสู่ชุมชน จากการศึกษาแต่ละโครงการย่อยสรุป ได้ว่า การทดสอบพฤกษเคมีในสารสกัดจากเปลือกไม้และหัวใต้ตินของพืชสมุนไพรในเขตเมืองปาก ชอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปตยประชาชนลาว การพิสูจน์ชนิตของวัตถุดิบจะใช้วิธี TLC fingerprint เปรียบเทียบกับสารตัวอย่าง จาก T.C fingerprint พบว่า พืชหลายชนิดมีสารต้านอนุมูล อิสระ คูมารินส์ น้ำมันหอมระเหย ซาโปนินและแทนนิน จากการหาปริมาณสารต้านอนุมูลอิสระ ตูมา รินส์ น้ำมันหอมระเหย ซาโปนินและแทนนินจากสารสกัดของพืชสมุนไพรพบว่ามีปริมาณ 6-36 mg/g , 11-20 mg/g, 3-10 mg/g, 3-15 mg/g และ 105-520 mg/g ต่อน้ำหนักแห้ง ตามลำดับ ในขณะที่ กรนารยณ์พบว่ามีอัลคาลอยด์ 5 mg/ ต่อน้ำหนักแห้งและกระบกมีฟินอลลิก กลัยโคไชด์ 10 mg/ ต่อน้ำหนักแห้ง แต่ไม่พบแอนทราควิโนน ฟลาโวนอยด์และคาดิเอค กลัยโคไชด์ การศึกษาความหลากหลายของพืชสมุนไพรกินได้และพฤกษศาสตร์พื้นบ้านในเขตมรตกทาง ธรรมชาติหินล้านปีคีรีวงกต อำเภอปากซอง แขวงจำปาสัก ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาวในระหว่างเตือนธันวาคม 2555 ถึงเดือนตุลาคม 2556 โดยการเดินเท้าเข้าสำรวจพรรณ พืชร่วมกับการวางแปลงสำรวจ 3 ขนาด คือ 400 ตารางเมตร 16 ตารางเมตร และ 1 ตารางเมตรเพื่อ เก็บข้อมูลไม้ต้น ไม้พุ่ม ไม้เลื้อย และไม้ล้มลุกตามลำดับ พบพืชพรรณทั้งสิ้น 60 วงศ์ 93 สกุล 101 ชนิด จากการสัมภาษณ์ราษฎรในท้องถิ่นพบว่าเป็นพืชที่นำมาใช้ประโยชน์ทั้งหมด 38 วงศ์ 52 สกุล 57 ชนิด สามารถจำแนกพืชออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการใช้ประโยชน์ได้ 5 ประเภทโดยพืชบาง ชนิดใช้ประโยชน์ได้มากกว่า 1 อย่างคือ 1) สมุนไพรกินได้ 11 วงศ์ 13 สกุล 15 ชนิด 2) พืชสมุนไพร 21 วงศ์ 25 สกุล 25 ชนิด 3) พืชอาหาร พบ 11 วงศ์ 11 สกุล 12 ชนิด 4) พืชที่ไข้ประโยชน์จากไม้ทำ บ้านและเครื่องมือเครื่องใช้ 5 วงศ์ 6 สกุล 7 ชนิด และ 5) พืขที่นำมาใช้ประโยชน์อย่างอื่น 11 วงศ์ 11 สกุล 12 ชนิด ส่วนของพืชที่นำมาใช้ประโยชน์มากที่สุดคือลำต้น ในพืชสมุนไพรกินได้นั้นพบว่ามี การนำมาใช้รักษาอาการสตรีหลังคลอดบุตรมากที่สุดและส่วนของพืชกินได้ที่ใช้มากที่สุดคือใบและ ยอตอ่อนโตยนิยมนำมาบริโภคเป็นผักสตโดยใช้เป็นเครื่องเคียงกับอาหารอย่างอื่น ความหลายหลายทางชีวภาพของเห็ดในพื้นที่เขตเมืองปากซอง แขวงจำปาสัก สาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาว ในช่วงเดือนเมษายน ถึงเดือนธันวาคม พ.ศ. 2555 ที่สามารถเก็บ รวบรวมได้มีจำนวนทั้งหมด 183 ตัวอย่าง เมื่อนำมาจัดจำแนกหมวดหมู่พบว่าจัดอยู่ใน Division Ascomycota จำนวน 1 อันดับ 1 วงศ์ 1 สกุล 1 ชนิด และ Division Basidiomycota จำนวน 6 อันตับ 14 วงศ์ 35 สกุล 45 ชนิด โตยวงศ์ที่พบมากที่สุดได้แก่ Polyporaceae, Agaricales และ Auriculariaceae ตามลำตับ ซึ่งเห็ดที่พบนี้ที่สามารถกินต้มีจำนวน 9 ชนิต คือ Schizophyllum commune Fr., Favolus brasilensis (Fr.) Fr., Lentinus polychrous Lev., Auricularia auricula-judae, Auricularia delicata, Auricularia polytricha, Dictyophora indusiata (Vent.: Pers.) Fisch., Ganoderma lucidum (Ley, ex Fr.) Kar. และ Russula emetic (Schaeff. & Fr.) เห็ดมีพิษ 1 ชนิด คือ Coprinus disseminatus (Pers. ex Fr.) S.F. Gray การศึกษาความหลากหลายทางชีวิวิทยาและเปรียบเทียบมูลค่าทางเศรษฐกิจของไก่ในแขวง จำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ผลการวิจัยพบว่า พบไก่ 6 พันธุ์ 42 ชนิดสี ซึ่ง ประกอบด้วยพันธุ์ไก่ป้าและไก่ป๋าลูกผสม พันธุ์ไก่แจ้ไทย พันธุ์ไก่ชนไทย พันธุ์ไก่ชนพม่า พันธุ์ไก่ชน เวียดนาม และพันธุ์ไก่ พื้นเมืองลาว ไก่พี่ ลาวมีจำนวนชนิดสีมา ากที่สุด 11 ชนิดสี และมี ความสำคัญรวมสูงสุดในพื้นที่ ไก่มีค่าความคงอยู่ร้อยละ 33.89 ลักษณ ะทางสัณฐานวิทยาของไก่ที่พบ ในแขวงจำปาสักค่อนข้างใกล้เคียงกับกับในประเทศไทย ไก่พื้นเมืองลาวเป็นไก่พันธุ์เดียวที่มีมูลค่าต่อ ตัว (ราคา) สูงกว่าในประเทศไทยประมาณ 2-4 เท่า สรุป แขวงจำปาสักเป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลาย ของพันธุ์และชนิดไก่ ซึ่งมีลักษณะสัณฐานวิทยาคล้ายที่พบในประเทศไทย ไก่มีค่าความคงอยู่ค่อนข้าง ต่ำ ไก่ที่มีความโดดเด่นในพื้นที่คือไก่พื้นเมืองสาวและมีราคาต่อตัวสูง การสำรวจนกที่แหล่งท่องเที่ยวมรดกธรรมชาติหินล้านปีคีรีวงกต ปากชอง ได้เริ่มสำรวจ ตั้งแต่เดือนเมษายน 2555-เดือนธันวาคม 2556 รวมสำรวจทั้ ทั้งสิ้นจำนวน 9 วัน พบนกจำนวนทั้งสิ้น 67 ชนิด นอกจากนี้ได้มีการสำรวจที่ ที่น้ำตกตาตกก รวมทั้ ทั้งทีพบในกรงเลี้ยงและที่ตลาด รวมพบนกใน แขวงจำปาสักระหว่างเดือนเมษายน 2555 -ธันวาคม 2556 จำนวน 97 ชนิด จาก จำนวน 11 อันตับ 37 วงศ์ 60 จีนัส เป็น Non-passerine 10 อันดับ 11 วงศ์ 18 จีนัส 22 ชนิด, Passerine 1 อันดับ 26 วงศ์ 42 จีนัส 75 ชนิด ในจำนวนนี้เป็นนกที่ไม่เคยมีรายงานใน Avibase-Bird Checklists of the World, Laos 2012 คือนกเสือแมลงปีกแดง White-browed Shrike-babbler Pteruthrius flaviscapis และนกเสือแมลงหน้าสีตาล Chestnut-fronted Shrike-babbler Pteruthrius aenobarbus ซึ่งถือเป็นรายงานการพบครั้งแรกใน สปป.ลาว การศึกษาองค์ความรู้ต้านภูมิปัญญาชาวบ้านศิลปวัฒนธรรมในแขวงจำปาสักสาธารณรัฐ ประชาธิปไตยประชาชนลาวและจัดทำฐานข้อมูลองค์ความรู้ในรูปแบบระบบอิเลคทรอนิคและสื่อมัล ติมิเตียเพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลสำคัญในอนาคดเป็นการเก็บข้อมูลจากเอกสาร การสำรวจ การสังเกต การสัมภาณณ์และการประชุมเฉพาะกลุ่มและวิเคราะห์ข้อมูลตั้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหาเพื่อนำไปใช้ จัดทำฐานข้อมูลอิเลคทรอนิคและสื่อมั่ลติมีเดียแบบภาพยนตร์ สำหรับขอบเขตด้านเนื้อหานั้นแบ่ง ออกเป็น 9 ประเภทได้แก่ (1)/ บริบทและสภาพทั่วไปของแขวงจำปาสัก, 2) วิถีชีวิตและความเชื่อ, (3) เมืองในแขวงจำปาสัก, (4) ภูมิปัญญาต้านเกษตรกรรม, (5) ภูมิปัญญาด้านศิลปหัตถกรรม, (6) ภูมิ ปัญญาด้านศิลปวัฒนธรรม, (7)ความหลากหลายทางชีวภาพกับแหล่งท่องเที่ยว (8) ภูมิปัญญา วัฒนธรรมต้านอาหาร, และ (9) ภาพรวมการดำเนินงานของชุดโครงการวิจัย อย่างไรก็ตามเนื่องจาก เนื้อหาของการศึกษาที่ค่อนข้างมาก บทความนี้จึงสรุปเนื้อหาเป็น 3 ประเต็นหลัก ไต้แก่ (1) บริบท และสภาพทั่วไปของแขวงจำปาสัก, (2) ประเพณีวิถีชีวิตและความเชื่อและ (3) องค์ความรู้ภูมิปัญญา การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว เพื่อเป็นต้นแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน เน้นประโยชน์ใช้สอย ความสวยงาม ความเป็นเอกลักษณ์และ เรื่องราวของท้องถิ่น และนำธรรมชาติสิ่งแวดล้อมเป็นแนวคิดในการพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์จาก ธรรมชาติ และวัสดุท้องถิ่น ได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผ้าทอ จำนวน 10 รูปแบบ ประกอบกระเป๋ากล้อง สะพายข้างลวดลายเรขาคณิต ผ้าแถบลีซอ จากผ้าทอพื้นเมือง แขวงจำปาสัก,กระเป๋าเป้ลวตลายปาก เช ผสมผสานสีสันผ้าลีซอ กระเป๋ากล้อง ลวดลายสัญลักษณ์แห่งลาวใต้,กระเป๋าจากแนวคิด Graphic Designความลงตัวของสีสัน ,กระเป๋าเป้ลายหางกระรอก จากแนวคิตสานฝันสู่การเดินทาง ,กระเป๋าใส่ แบบจากแนวคิตแนวศิตเรขาคณิตสร้างสรรค์ , กระเป๋าเปัลวตลายผ้าแห่งลาวใต้ คู่ใจนักเดินทาง , กระเป๋ากล้องแฟชั่นสไตล์เกาหลี ลวดลายผ้าลาวใต้ ,กระเป๋าสะพายข้าง "โกตังเก็บของส่วนตัวของ คุณผู้ชาย" กระเป๋ากล้องสะพายข้าง สไตล์ลาวใต้ จากการประเมินผลโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 5 คน และนักท่องเที่ยวจำนวน 100 คน ต้านความสวยงาม ประโยชน์ใช้สอยและลักษณะท้องถิ่น พบว่า ผลิตภัณฑ์กระเป๋ากล้องสะพายข้างลวดลายเรขาคณิต ผ้าแถบลีซอ จากผ้าทอพื้นเมืองแขวงจำปาสักมี ระดับคะแนนเฉลี่ยสูงสุด อย่างไรก็ตามผลิตภัณฑ์ทั้งหมตได้รับความสนใจจากกลุ่มแม่บ้านในแขวง จำปาสักเป็นอย่างดีเพื่อการนำต้นแบบไปผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ชุมชนต่อไป การถ่ายทอตองค์ความรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปตยประชาชนลาวสู่ชุมชน ได้ถ่ายทอตการไช้ประโยชน์จากวัสดุท้องถิ่นเป็น สินค้าของที่ระลึกให้กับผู้สนใจ ในแขวงจำปสักได้แก่ อาจารย์และนักศึกษาในมหาวิทยาลัยจำปาสัก สมาคมสหพันธ์แม่หญิงลาวในแขวงจำปาสัก และผู้สนใจทั่วไป จำนวน 50 คน โดยจัดประชุมเชิง ปฏิบัติการ ณ มหาวิทยาลัยจำปาสัก สปป.ลาว ผู้เข้ารับการถ่ายทอดเทคโนโลยีมีความพึงพอใจใน ระดับมากคาดว่าจะสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพได้ นอกจากนี้ยังได้จัดทำเอกสารเผยแพร่ ผลงานในชุดโครงการวิจัยภาษาอังกฤษเป็นเอกสารวิชาการจำนวน 1,000 เล่ม แผ่นพับที่มีเนื้อหาของ แต่ละโครงการวิจัยย่อยเพื่อใช้เผยแพรในการประชุมวิขาการและเผยแพรให้กับผู้สนใจต่อไป |
บทคัดย่อ (EN): |
The research and development of Biodiversity and local wisdom variation in Champasak province, Lao Peoples Democratic Republic consist of 5 subresearch projects which are the biodiversity of medicinal herb and mushrooms in Punk Xong, Champasak Province, Lao Peoples Democratic Republic, biodiversity of bird and chicken in Champasak Province, Lao Peoples Democratic Republic, local wisdom of art –cultural, linguistics and custom diversity of rice and information system in Champasak Province, Lao Peoples Democratic Republic, the development of Champasak woven fabric and souvenir as model for community product and the transfer of biodiversity and local wisdom variation in Champasak province, Lao Peoples Democratic Republic to community. The results could be concluded as follows; The investigate phytochemical was screened from the stem barks and fleshy root of medical herb in Paksong, Champasak Province at The Lao Peoples Democratic Republic. Identification of crude extract was performed by Thin-Layer chromatography fingerprint comparing with the phytochemical standard compound. The TLC fingerprints found that some of the medical herb contained antioxidants, coumarins, essential oils, saponin and tannin. The amount of antioxidants, coumarins, essential oils, saponin and tannin in herb extract were 6-36 mg/g, 11-20 mg/g, 3-10 mg/g, 3-15 mg/g and 105-520 mg/g dried weigh, respectively. While Schefflera elliptica (Blume) Harms contained alkaloids 5 mg/g dried weigh and Irvingia malayana Oliv.ex A.W. Benn. contained phenolic glycoside 34 mg/g dried weigh. Unfortunately, antraquinones, flavonoids and cardiac glycosides were not found. The diversity of Culinary Herb and Ethnobotanical Studies at the Ancient Stone Khelee Vongkot Pakxong, Champasak District, Lao People’s Democratic Republic was performed from November 2012 to October 2013. The researcher walked in to explore plants and set 3 sizes of land plots: 400 square meters, 16 square meters and 1 square meter in order to collect data on trees, shrubs and climbers herbaceous plants. The results revealed that there were 60 families, 93 genuses, and 101 species of plants. The interview with the people in the community revealed that plants used in the community included 38 families, 52 genuses and 57 species. When divided according their usage, there were 5 species of plants some of which had more than 1 usage: 1) 11 families, 13 genuses and 15 species of plants were used as culinary herbs; 2) 21 families, 25 genus and 25 species were used as herbs; 3) 11 families, 11 genus and 12 species were used for food, 4) 5 families, 6 genus and 7 species were use for house construction and tools, 5) 11 families, 11 genus and 12 species were used for other purposes. The part of plants that were mostly used was the trunk. As for culinary herbs, they were used the most by women to treat symptoms after childbirth. The parts of culinary herbs that were used the most were the leaves and the young topmost leaves which were eaten fresh as side dishes. A biodiversity of mushroom in Paksong, Champasak Province at The Lao Peoples Democratic Republic was conducted during April 2012 and December 2012. The 183 mushroom samples were found. These samples could classify in Division Ascomycota (1 Order, 1 Family, 1 Genus and 1 Species) and Division Basidiomycota (6 Order, 14 Family, 35 Genus and 45 Species). Most common family were Polyporaceae, Agaricales and Auriculariaceae, respectively. Nine species of edible mushrooms were Schizophyllum commune Fr., Favolus brasilensis (Fr.) Fr., Lentinus polychrous Le’v., Auricularia auricula-judae, Auricularia delicata, Auricularia polytricha, Dictyophora indusiata (Vent.: Pers.) Fisch., Ganoderma lucidum (Ley. ex Fr.) Kar. and Russula emetic (Schaeff. & Fr.). One species of poisonous mushroom was Coprinus disseminatus (Pers. ex Fr.) S.F. Gray The purpose of this study was to determine chicken biodiversity and economic value in Champasak Province, Lao PDR. Research findings revealed that there were 6 breeds, 42 varieties (color) of chickens. These consist of Red jungle flow breed and crossbred red jungle flow, Thai bantam breed, Thai game breed, Burma game breed, Vietnam game breed and Loa native chicken breed. Loa native chicken breed had 11 varieties more than other chicken breeds. The breed of chicken with the highest importance value index (IVI) was the Loa native chicken. There were found 33.89% of chickens sustainable value in life cycle. Morphology of chickens found in Champasak Province was in relatively close proximity to chicken in Thailand. Value (price per birds) of Lao native chickens was 2-4 times higher than Thai native chicken. In conclusion, Champasak Province is an area that offers biodiversity of chicken breeds and varieties. The morphology of chicken found in Champasak Province similar to that found in Thailand. The sustainable value of chickens is still relatively low. Lao native chickens are distinguished breed in the area and having high price per bird. Bird survey at the Million Year Stone Keeree Vongkot Natural Heritage, Paksong Champasak Lao PDR between April 2012-December 2013 total of 9 days surveyed, 67 species of birds were identified and also surveyed in other places especially Tat Kok and included the market and cage-bird, totally 97 species were identified and classified in 11 Order 37 family 60 Genus: Non-passerine 10 Order 11 Family 18 Genus 22 Species and Passerine 1 Order 26 Family 42 Genus 75 Species. But 2 of them had never been reported in Avibase - Bird Checklists of the World, Laos 2012.Both of them are in family Vireonidae, White-browed Shrike-babbler Pteruthrius flaviscapisand Chestnut-fronted Shrike-babbler Pteruthrius aenobarbus which are the new record of Lao bird. The aims of this research are (1) study, collect and develop knowledge base in Local Wisdom of Art and Culture in Champasak, Laos’s People Democratic Republic, also (2) develop electronic database and multimedia. Multiple sources of data are collected which are related documents, community survey, observation, in- depth interview, and focus group discussion in order to gather knowledge in multi- dimensions. The content analysis is applied as technique to analyze data in order to further implements as electronic database and short-documentary movie. The content of this study is categorized into 9 groups as (1) the context and general information in the lower-region, (2) The way of life and belief, (3) the 10 cities in Champasak, (4) the local wisdom in agricultural, (5) the local wisdom in art and craft, (6) the local wisdom in art and cultural, (7) the biodiversity and tourist attraction, (8) the local wisdom in cuisine, and (9) the overall operation of research project. However, the research content of finding is abundantly. For this reason, this research is only summarize into three main categories as (1) the context and general information, (2) custom and way of life, and (3) knowledge base and local wisdom. This research aimed to create products from hand-woven fabric as models for community products in Champasak District, Lao People’s Democratic Republic. It focused on the products’ usefulness, attractiveness, uniqueness and community narratives. It brings in natural surroundings as ingredients and guidelines in the development of products from natural resources and local materials. Ten products made from hand-woven fabric were developed: 1) a shoulder-bag styled camera case with geometric patterns made from local Lisu shawls in Champasak District, 2) a backpack with a combination of Pakse and colorful Lisu patterns. 3) a camera case with patterns depicting Southern Laos images, 4) a graphic-design patterned bag in harmonious blends of colors, 5) a backpack made from Hang Kra Rok weft and warp (meaning squirrel’s tail) pattern – weaving travelers’ dreams, 6) a bag for sketching board and paper deriving ideas from geometric patterns, 7) a backpack with Southern Lao patterns – a travelers’ companion, 8) a fashionable, Korean-styled camera case using Southern Lao patterns, 9) a shoulder bag – a gentleman’s warehouse, and 10) a Southern Lao-styled shoulder bag. All the products listed above were assessed by 5 experts and 100 tourists in the aspects of their attractiveness, usefulness, and community uniqueness. The results revealed that the shoulder-bag styled camera case with geometric patterns made from local Lisu shawls in Champasak District was rated at the highest level. However, all the products received much attention from housewives’ groups in Champasak District. They also gave rise to creating more community products. The research project aims to transfer knowledge of Biodiversity and local wisdom variation in Champasak province, Lao Peoples Democratic Republic which are instructor and student of Champasack University and local residents. The 50 people are attending in this workshop at Champasack University, Lao People Democratic Republic. The result of workshop performance is in high level. The audiences also expect to apply this knowledge as new job. The 1,000 handbooks and brochures also developed to disseminate knowledge in academic conference and distribute to those interested. |