สืบค้นงานวิจัย
ผลของโอโซนต่ออายุการเก็บรักษาลำไย
สิคีริยา เรื่องยุทธิการณ์ - มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ชื่อเรื่อง: ผลของโอโซนต่ออายุการเก็บรักษาลำไย
ชื่อเรื่อง (EN): Effect of Ozone on Longon Shelf-life
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: สิคีริยา เรื่องยุทธิการณ์
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): Sikeeriya Ruangyuttikarn
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: ธนะชัย พันธ์เกษมสุข
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN): Tanachai Pankasemsuk
คำสำคัญ:
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: การศึกษาผลของโอโซนต่ออายุการเก็บรักษาลำไยพันธุ์ดอ โดยนำผลลำไยลงแช่ในน้ำเย็นที่ 0°ซ ปรับค่าความเป็นกรดเป็นด่างด้วยกรดแลกติก ให้มีค่าเท่ากับ 3-4 หลังจากนั้นปล่อยก๊าซโอโซนระดับความเข้มข้น 100 มก./ชม. ให้ไหลลงไปในน้ำ เป็นเวลา 0, 30, 60 และ 90 นาที ตามลำดับ แล้วนำไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 5°ซ พบว่าผลลำไยที่ผ่านการรมก๊าซโอโซน สามารถเก็บรักษาได้นานกว่าผลลำไยที่ไม่ได้รมก๊าซโอโซน 6-9 วัน และผลลำไยที่ผ่านการรมก๊าซโอโซนนาน 30 นาที สีเปลือกมีความสว่างและเป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคมากที่สุด
บทคัดย่อ (EN): Longan (Euphoria longana Lam.) fruits cv. Daw were soaked in 0 °C water pH 3-4 and exposed to ozone at the concentration of 100 mg./hr. for 0, 30, 60 and 90 minutes then stored at 5 °C. The results revealed that ozone treated fruits had longer shelf-life than untreated fruits for 6-9 days. The fruits treated with ozone for 30 minutes, had the lightest exocarp color and got the highest acceptable quality from sensory evaluation.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2544
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2545
เอกสารแนบ: https://li01.tci-thaijo.org/index.php/joacmu/article/view/247048/169356
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
ผลของโอโซนต่ออายุการเก็บรักษาลำไย
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2545
เอกสารแนบ 1
เอกสารแนบ 2
ผลของการประยุกต์ใช้น้ำแข็งดัดแปลงต่ออายุการเก็บรักษาปลาน้ำจืด การพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้าวกล้องเพาะงอกผสมและทดสอบอายุการเก็บรักษา การศึกษาวิธีการควบคุมการออกดอกของลำไย ผลของโอโซนต่ออายุการเก็บรักษาลิ้นจี่ ผลของไคโตซานต่อคุณภาพหลังเก็บเกี่ยวและอายุการเก็บรักษาของ หน่อไม้ฝรั่ง การศึกษาวิธีการแก้ไขปัญหาการออกดอกเว้นปีของลำไย การศึกษาปัจจัยการผลิตที่มีอิทธิพลต่อผลผลิตลำไยของเกษตรกรในจังหวัดลำพูนและจังหวัดเชียงใหม่ ผลของสารล้างผิวต่ออายุการเก็บรักษาและคุณภาพหลังการเก็บเกี่ยวของมะนาว การรมซัลเฟอร์ไดออกไซด์(SO2)กับผลลำไยสดด้วยวิธีหมุนเวียนอากาศแบบ forced-air ผลของอุณหภูมิและวิธีการเก็บรักษาต่อแตนเบียนไข่, Trichogramma spp.

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก