สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่นในระดับโรงเรียนเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ในจังหวัดกาญจนบุรี
ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล - มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
ชื่อเรื่อง: การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่นในระดับโรงเรียนเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ในจังหวัดกาญจนบุรี
ชื่อเรื่อง (EN): The Study of Biodiversity by Local Wisdom in Schools for monitoring Ecosystem Change and Local Environment in Kanchanaburi
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ปิยะพร พิทักษ์ตันสกุล
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: จิราพร โพธิ์งาม
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: การวิจัยในครังนี้ มีวัตถุเพื่อ 1) รวบรวมข้อมูลด้านความหลากหลายทางชีวภาพของพี่ชใน ต่ละท้องถิ่น 2 เพื่อใช้ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นเครื่องมือในการศึกษ านอกห้องเรียนและ จัดทำงานวิจัยในระดับโรงเรียน 3) เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน ระหว่าง นักวิจัย ครู เกเรียน และผู้รู้ในแต่ละ ท้องถิ่น ในการติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม ท้องถิ่น 4) เพื่อสร้างเครือข่ายการศึกษาความหล ากหล ายท างชีวภาพของพืชในระดับโรงเรียน/ องถิ่น ผู้วิจัยได้ใช้กระบวนการวิจัยเชิงปฏิบัติ การแบบมีส่ วนร่วม (Participatory Acion Research) ระหว่าง นักวิจัหลัก นักวิจัยร่วม ได้แก่ ครู นักเรียน และผู้รู้ในแต่ละท้องถิ่น เป็น ครื่องมือในการศึกษาวิจัยและขับเคลื่อนกระบวนการวิจัย รวมทั้งการฝึกอบรม (training) การฝึก ปฏิบัติการ (on the job training) พื้นที่ดำเนินการวิจัยเป็นโรงเรียนในสังกัด จังหวัดกาญจนบุรี ผลการศึกษาครั้งนี้ทำให้เกิดเครือข่ายการเรียนรู้ความหลากหลายทางชีวภาพในระดับ ห้องถิ่น 1 เครือข่าย โดยมีโรงเรียนที่เข้าร่วมเครือข่ายทั้งสิ้น 11 โรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนหนอง ตากยาตั้งวิริยะราษฎร์บำรุง 2) โรงเรียนท่มะกาวิทยาคม 3) โรงเรียนพนมทวนชนูปถัมภ์ 4) รงเรียนพนมทวนพิทยาคม 5) โรงเรียนพระแท่นดงรังวิทยาคาร 6) โรงเรียนหนองปรือวิทยาคม 7) รงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ 8) โรงเรียนเทศบาล ๑ (วัดเทวสังฆาราม) 9) โรงเรียนเทศบาล (ประชาภิบาล) 10) โรงเรียนเทศบาล ๓ (บ้านบ่อ) 11) โรงเรียนเทศบาล ๕ (กระดาษไทย นุเคราะห์) โดยกระจายอยู่ใน 5 อำเภอ ได้แก่ อำเภอเมือง ท่ามะกา ท่าม่วง หนองปรือ และพนม วน สำหรับการศึกษาวิจัยในครั้งนี้ทำให้ นักวิจัย ครุ นักเรียน และผู้รู้ท้องถิ่นเกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน โดยมีครูเข้าร่วมโครงการวิจัยทั้งสิ้น 22 คน และผู้รู้ท้องถิ่น จำนวน 13 คน และมี นักเรียนเข้าร่วมเรียนรู้ในแต่ละโรงเรียนไม่ต่ำกว่า 20 คน จนสามารถพัฒนาเป็นงานวิจัยระดับ โรงเรียนได้ทั้งสิ้น 11 เรื่อง โดยภาพรวมความหลากหลายทางชีวภาพของโรงเรียนในเครือข่ายพบว่ามีพืชทั้งสิ้น 96 ชนิด 39 วงศ์ โดยวงศ์ที่พบมากที่สุดได้แก่ พืชในวงศ์ LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE พบพืชในวงศ์นี้ทั้งสิ้น 13 ชนิด เมื่อพิจารณาความหล ากหล ายทางซีวภาพระดับโรงเรียน พบว่า ระดับของความหลากหลายในแต่ละพื้นที่มีความแตกต่างกัน โดยพื้นที่ศึกษาของโรงเรียนหนอง ปรือพิทยาคมมีความหลากชนิดสูงสุด พบจำนวน 24 ชนิด รองลงมาคือ โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม พบ 20 ชนิด สำหรับค่าดัชนีความหลากหลายพบว่า โรงเรียนที่มีค่าดัชนีความหลากหล ายสูงสุดคือ โรงเรียนหนองปอพิทยาคม มีค่าเท่ากับ 2.747 รองลงมาคือโรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บูรณะ และเทศบาล ๒ (ประชาภิบาล) โดยมีค่า 2.573 และ 2.396 ตามลำดับ เมื่อนำมาจัดกลุ่มระดับความหลากหลายพบว่าสามารถแบ่งกลุ่มโรงเรียนออกได้เป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่มีความหลากชนิดต่ำมาก พบ 1 โรงเรียนคือ โรงเรียนเทศบาล ๑ (วัดเทวสังฆาราม) และกลุ่มที่มีความหลากชนิดต่ำ พบทั้งสิ้น 8 โรงเรียน ได้แก่ 1) โรงเรียนหนองตากยาตั้งวิริยะ ราษฎร์บำรุง 2) โรงเรียนพนมทวนชนูปถัมภ์ 3 โรงเรียนพนมทวนพิทยาคม 4) โรงเรียนพระแท่น ดงรังวิทยาคาร 5) โรงเรียนวัดกร่างทองราษฎร์บุรณะ 6) โรงเรียนเทศบาล ๒ (ประชาภิบาล) 7) โรงเรียนเทศบาล ๓ (บ้านบ่อ) และ 8) โรงเรียนเทศบาล ๕ (กระดาษไทยอนุเคราะห์) และกลุ่ม ที่มีความหลากชนิดในระดับปานกลาง ได้แก่ โรงรียนท่ามะกวิทยาคม และโรงเรียนหนองปรือ พิทยาคม การใช้ประโยชน์ ของพืช พบว่ามีการใช้ประโยชน์ใน 4 ด้านหลัก ได้แก่ ด้านการใช้ ประโยชน์จากเนื้อไม้ การเป็นอาหาร เป็นสมุนไพรและเป็นพืชประดับ ซึ่งมีพืชหลายชนิดที่สามารถ ใช้ประโยชน์ได้หลายด้าน โดยจะมีการใช้ประโยชน์พี่ชทางด้านการนำเนื้อไม้ไปใช้ประโยชน์มาก ที่สุด รองลงมาเป็นไม้ประดับ สมุนไพร และอาหาร ตามลำดับ
บทคัดย่อ (EN): These research aims to (1) collect the data of plants biodiversity in each locality (2) develop biodiversity tools for informal education and provide research in school (3) generate the participatory learning process among researchers, lecturers, student and stakeholders to monitor the changing of ecological and environmental aspect in each locality and (4) establish the education network of biodiversity in school and community level. Participatory Action Research, training and on the job training were used by researcher, co-researchers; lecturers, students, and stakeholders as tools of research driving force for schools in Kanchanaburi province. The result of this research found that there was 1 networking from 11 schools of biodiversity learning process which consist of 1) Nongtakvatungvirivaraibumrong 2) Thamaka wittevakom 3) Phanomtuanchanuphatom 4) Phanumtuan phittevakom 5) Phatandongrungwittakan 6) Nongpruepittayakom 7) Wat krangtongraiaburana 8) Tasaban 1 (wat tawasangkaram) 9) Tasaban 2 (phachapiban) 10) Tasaban 3 (ban bo) 11) Tasaban 5 (Kradadthai anukuar) and all school were distributed in 5 cistrict which consisted of Amper muang, Thamaka, Nongprue, and Phanomtuan. From this research, there were 11 papers were developed bv 22 lecturers. 13 knowledgeable local people Tasaban 1 (wat tawasangkaram) 9) Tasaban 2 (phachapiban) 10) Tasaban 3 (ban bo) 11) Tasaban 5 (Kradadthai anukuar) and all school were distributed in 5 district which consisted of Amper muang, Thamaka, Nongprue, and Phanomtuan. From this research, there were 11 papers were developed by 22 lecturers, 13 knowledgeable local people and more than 20 students in each school and be able to develop biodiversity research efficiency. The overview of biodiversity in every school found that there were 96 species of plants and 39 Families. The biggest portion of was LEGUMINOSAE- CAESALPINIOIDEAE family which consisted of 13 species of plants. The consideration of biodiversity in school level found that Nongpruepittayakom had the highest variety of plants, 24 species and Thamaka.school was about 20 species. For diversity index, it was found that the highest diversity index was Nong pru pithayakom (2.747), Wat krangtongrajaburana (2.573) and Tasaban 2 (Phachapiban) (2.396) respectively.To divided into group of diversity, it was be able to 3 categories; the lowest of diversity was Tasaban 1 (wat tawasangkaram) and a low of diversity comprised of 8 school, Nong tak yatungvirivarajbumroog, Phanomtuanchanuphatom, Phanumtuan phittayakom Phatandongrungwittakan,Wat krangtongrajaburana, Tasaban 2 (Phachapiban), Tasaban 3 (Ban bo), and Tasaban 5 (Kradadthai anukuar). The intermediate of diversity was Thamaka wittavakom and Nongpruwittavakom. There were 4 aspects of the benefit of plants; wood, foodies, herb, and decoration. Wood was the biggest portion of using and follows by herb and foodies correspondingly.
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ได้รับทุนวิจัย
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2552-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพตามภูมิปัญญาท้องถิ่นในระดับโรงเรียนเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมของท้องถิ่น ในจังหวัดกาญจนบุรี
มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี
30 กันยายน 2552
โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน โครงการสื่อความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตในแนวปะการังและพื้นที่ใกล้เคียงทะเลอันดามัน การสร้างรูปแบบการจัดการสิ่งแวดล้อม และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนบนฐานเศรษฐกิจพอเพียงและภูมิปัญญาท้องถิ่นในพื้นที่ต้นน้ำแม่แจ่ม อำเภอกัลยาณิวัฒนา จังหวัดเชียงใหม่ การศึกษาความหลากหลายและโครงสร้างของสังคมพืชบริเวณพื้นที่เขื่อนสิริกิติ์ จังหวัดอุตรดิตถ์ การพัฒนาเครือข่ายวิชาการและเผยแพร่ความรู้ด้านความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่น การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงเซกอง สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว การศึกษาความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ความหลากหลายของพืชสมุนไพรและภูมิปัญญาท้องถิ่นของราษฎรในเขตเขาซับแกงไก่ จังหวัดลพบุรี การถ่ายทอดองค์ความรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นในแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สู่ชุมชน การขยายผลองค์ความรู้ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาท้องถิ่นของข้าวในแขวงจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว สู่ชุมชน

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก