สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 1)
นางสาวสำเภา แก้วสระแสน - กรมชลประทาน
ชื่อเรื่อง: การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 1)
ชื่อเรื่อง (EN): Study on consumptive use of Papaya (1st Year)
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: นางสาวสำเภา แก้วสระแสน
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ (EN): MISS SUMPAO KAEWSASAEN
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย (EN):
คำสำคัญ: ปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ
คำสำคัญ (EN): Evapotranspiration
หมวดหมู่:
บทคัดย่อ: ได้ทำการศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ(พันธุ์ฮอลแลนด์) ที่สถานีทดลอง การใช้น้ำชลประทานที่ 4 (สามชุก) อ.สามชุก จ.สุพรรณบุรี ตั้งแต่วันที่ 12 ธันวาคม 2551 ถึงวันที่ 21 ตุลาคม 2552 รวมระยะเวลา 314 วัน หาค่าปริมาณการใช้น้ำของมะละกอโดยใช้ ถังวัดการใช้น้ำแบบระบายน้ำ(Percolation Type) ปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ(Crop Evapotranspiration ; ET) ตั้งแต่ปลูกจนถึงเก็บเกี่ยว 1,753.44 มิลลิเมตร เฉลี่ยต่อวัน 5.48 มิลลิเมตร ค่าสัมประสิทธิ์การใช้น้ำของถาดวัดการระเหยเบ็ดเสร็จ (Overall Pan Coefficient ; K/p) เท่ากับ 1.14 ปริมาณการใช้น้ำของพืชอ้างอิง (Reference Crop Evapotranspiration ; ETo) จากสูตร Modified Penman เท่ากับ 4.82 , Penman Monteith เท่ากับ 3.89 , Pan Method เท่ากับ 4.12 , Blaney Criddle เท่ากับ 3.76 , Radiation เท่ากับ 4.18 และ Hargreaves เท่ากับ 4.78 มิลลิเมตร ค่าสัมประสิทธิ์พืช (Crop Coeffcient ; Kc) จากสูตร Modified Penman เท่ากับ 1.17 , Penman Monteith เท่ากับ 1.44 , Pan Method เท่ากับ 1.36 , Blaney Criddle เท่ากับ 1.47 , Radiation เท่ากับ 1.37 และ Hargreaves เท่ากับ 1.16 ต้นมะละกอ(พันธุ์ฮอลแลนด์)สูงเฉลี่ย 302.00 เซนติเมตร จำนวนผลต่อต้นเฉลี่ย 49 ผล น้ำหนักผลต่อต้นเฉลี่ย 47.90 กิโลกรัม จำนวนผลสุกต่อต้นเฉลี่ย 12 ผล น้ำหนักผลสุกต่อต้นเฉลี่ย 9.72 กิโลกรัม น้ำหนักต่อผลเฉลี่ย 0.77 กิโลกรัม ความกว้างของผลเฉลี่ย 8.31 เซนติเมตร ความยาวของผลเฉลี่ย 17.97 เซนติเมตร ความหนาเนื้อเฉลี่ย 2.52 เซนติเมตร และความหวานเฉลี่ย 11.23 องศาบริกซ์
บทคัดย่อ (EN): Study on consumptive use of papaya(Halland) was carried out at the Irrigation Water Management Experiment Station 4(Sam Chuk), Sam Chuk District, Suphanburi Province since December 12, 2008 to October 21, 2009 a total of 314 day. Crop Evapotranspiration (ET) of papaya was measured directly from a percolation type lysimeter. The results of study on consumptive use of papaya Crop Evapotranspiration (ET) = 1,753.44 mm , with averages of 5.48 mm/day. Overall Pan Coefficient (K/p) = 1.14 . Reference Crop Evapotranspiration (ETo) of Modified Penman = 4.82 , Penman Monteith = 3.89 , Pan Method = 4.12 , Blaney Criddle = 3.76 , Radiation = 4.18 and Hargreaves = 4.78 mm. Crop Coefficient (Kc) of Modified Penman = 1.17 , Penman Monteith = 1.44 , Pan Method = 1.36 , Blaney Criddle = 1.47 , Radiation = 1.37 and Hargreaves = 1.16 . The average height of papaya(Halland) was 302.00 cm , average number of fruits per plant was 49 fruit , average weight of fruits per plant was 47.90 kg , average number of ripe fruits per plant was 12 fruit , ripe fruits per plant ; average weight was 9.72 kg , average weight per fruit was 0.77 kg , average width of the fruit was 8.31 cm, average length of the fruit was 17.97 cm, the average thickness was 2.52 cm , and average sweetness was 11.23 brick.
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับชาติ: ความมั่นคง
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกระทรวง: -
แผนยุทธศาสตร์งานวิจัย – ระดับกรม: การพัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำและการชลประทาน
เลขทะเบียนวิจัยกรม: สวพ.29/2552
ชื่อแหล่งทุน: เงินงบประมาณแผ่นดิน : ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปี 2552
เลขทะเบียนวิจัยแหล่งทุน: 21032
วิธีการจ้างทำงานวิจัย: ดำเนินการวิจัยเอง
จำนวนเงินตามสัญญารับงานวิจัย: 68561
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2551
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2553
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
พื้นที่ดำเนินการ: สถานีทดลองงการใช้น้ำชลประทานที่ 4 (สามชุก) ตำบลสามชุก อำเภอสามชุก จังหวัดสุพรรณบุรี
ช่วงเวลาที่รวบรวมข้อมูล: ตุลาคม 2551 ถึง กันยายน 2552
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2552
ประเภทชิ้นงาน: การวิจัยพื้นฐาน
เผยแพร่โดย: กรมชลประทาน
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
รายละเอียด: Approved for entry into archive by รดา รุจณรงค์ (กรมชลประทาน) (rada_ru@rid.go.th) on 2017-12-27T03:23:09Z (GMT) No. of bitstreams: 0
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 1)
กรมชลประทาน
2553
กรมชลประทาน
การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 3) การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของมะละกอ (ปีที่ 2) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของทับทิม (ปีที่ 2) การศึกษาปริมาณการใช้น้ำหญ้าหวานปีที่ 1 การศึกษาปริมาณการใช้น้ำดอกชมจันทร์ปีที่ 2 การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของชมพู่พันธุ์เพชรสายรุ้ง (ปีที่3) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของมะนาว ปีที่ 2 การศึกษาปริมาณการใช้น้ำของขิง (ปีที่2) ศึกษาการใช้น้ำอย่างพอเพียงในระบบฟาร์มเข้าสู่เกษตรอินทรีย์ (ปีที่ 1) การศึกษาหาปริมาณการใช้น้ำของมะนาว (ปีที่3)

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก