สืบค้นงานวิจัย
การศึกษาทิศทางและการพัฒนาสภาพการเลี้ยงแกะในระบบเศรษฐกิจพอเพียงพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
ธัญญา สุขย้อย - กรมปศุสัตว์
ชื่อเรื่อง: การศึกษาทิศทางและการพัฒนาสภาพการเลี้ยงแกะในระบบเศรษฐกิจพอเพียงพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
ชื่อเรื่อง (EN): A Study on Direction and Development of Sheep Raising Under Self- Sufficient Economy the Lower part of Southern Region
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ธัญญา สุขย้อย
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: ตามที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กาหนดแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระราชทาน เป็นแนวทางในการดาเนินงานในการพัฒนาเกษตรกรและการประกอบอาชีพการเกษตร โดยต้องให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่เกษตรกรเพื่อนาไปปฏิบัติจริงในชีวิตประจาวันในการแก้ไขปัญหาความยากจนและสร้างความยั่งยืนให้กับเกษตรกรและชุมชน การเลี้ยงสัตว์ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงมีความหลากหลายในแต่ละพื้นที่และชนิดสัตว์ตามขนบธรรมเนียมและประเพณีของท้องถิ่น การคัดเลือกองค์ความรู้จากภูมิปัญญาท้องถิ่นที่เหมาะสมเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรเป็นตัวอย่างให้เกษตรกรอื่นมาศึกษาความรู้ เป็นแนวทางหนึ่งที่สามารถสร้างความเปลี่ยนแปลงให้เกษตรกรที่มาดูงานได้เป็นอย่างดีเพราะเป็นรูปธรรม มีการใช้ปฏิบัติมาแล้วเกิดผลดี ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง แกะเป็นสัตว์อีกประเภทที่นิยมเลี้ยงตามขนมธรรมเนียมและประเพณีของท้องถิ่นโดยเฉพาะในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ จึงควรมีการพัฒนาในเรื่องอาชีพด้านปศุสัตว์ ซึ่งแกะเป็นสัตว์ชนิดหนึ่งที่สามารถเลี้ยงกันเป็นอาชีพเสริม เพื่อใช้ประโยชน์จากพื้นที่สวนยางพารา สวนผลไม้ สวนปาล์ม และแปลงหญ้าสาธารณะประโยชน์ของชุมชน ตลอดจนพื้นที่ภาคใต้ ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีพืชอาหารสัตว์เหล่านี้ได้เป็นอย่างดี การศึกษาทิศทางและการพัฒนาการเลี้ยงแกะในระบบเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาให้มีองค์ความรู้ ทั้งยังเป็นการอนุรักษ์และพัฒนาการเลี้ยงแกะในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างให้ดียิ่งขึ้นไป
บทคัดย่อ (EN): This research aimed to study the direction and development of sheep raising under self-sufficient economy in the lower part of Southern region. The subjects consisted of 8 herdsmen in the lower parts of Southern region which located in Trang, Satun, Patthalung, Songkhla, Yala, Pattani and Narathiwart. The statistic data is used for principle analyzing the frequency, percentage, mean, standard deviation. The findings revealed that most of herdsmen were males, aged between 41-50 years, married and being as a leader of the family; the education level was Prathom 4 – 6 and there were 5 – 10 members in the family. Their occupations were raise up animals, rubber farming together with raise up animals, fruit farming together with raise up animals and vegetable farming together with raise up animals. Their incomes were lower than 50,000 Baht. Most of herdsmen have saving money and have no loan. Most of herdsmen had raising sheep experience for less than 4 years and there were 51-100 native species-sheep. They were raising up sheep in the same area by leaving them free and enclosing them in crib interchange with leaving the sheep free. The sheep was feeding only grass that supply from herdsmen’s grass bed. The parent breeding stocks (mother) gave a birth for 2 litters of sheep. The young sheep are weaned when they were 3 months old. For the parent breeding stocks (mother), they will be discharged after usable for 7 – 12 years and the parent breeding stocks (male) will be discharged after usable for 3 years. The peak season was the month of religious ceremony and the treading was performed at home by localized merchant. Most of herdsmen managed their sheep farm’s account in order to reduce the capital cost. Moreover, the environment satisfaction of herdsmen was at high level. It was found that the most satisfied factor was air and followed by soil and cost, respectively. The satisfied factors of herdsmen at moderate level were income, water and neighbor. In addition, it was found that the most important factors for selling were weight and sex and the most important factors for eating, religious ceremony and breeding were sex.
ชื่อแหล่งทุน: งบประมาณแผ่นดิน
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2550-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2551-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: กรมปศุสัตว์
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การศึกษาทิศทางและการพัฒนาสภาพการเลี้ยงแกะในระบบเศรษฐกิจพอเพียงพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
กรมปศุสัตว์
30 กันยายน 2551
กรมปศุสัตว์
การศึกษาสภาพการเลี้ยงการตลาดแพะในระบบเศรษฐกิจพอเพียงพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง การดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรในเขตพื้นที่อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ โครงการวิจัยการพัฒนารูปแบบระบบการปลูกพืชให้เหมาะสมกับพื้นที่ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในเขตพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง โครงการพัฒนาสายพันธุ์สุกรที่เหมาะสมภายใต้เงื่อนไขสภาพการเลี้ยงบนพื้นที่สูง การเลี้ยงปศุสัตว์ในระบบเกษตรผสมผสานของเกษตรกรรายย่อย ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ในพื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง สาธิตการจัดการฟาร์มระบบเกษตรอินทรีย์ในพื้นที่ 1 ไร่ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนาสำรับอาหารไทยเพื่อสุขภาพ บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง และบริบทชุมชน โครงการพัฒนาวิสาหกิจชุมชนตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การทดลองเลี้ยงหอยสังข์กระโดด Strombus canarium ควบคู่กับการเลี้ยงกุ้งขาววานาไม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก