สืบค้นงานวิจัย
เทคนิคการเพิ่มอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของสารพิษตกค้างในดินเพื่อลดระยะเวลาการ ปรับเปลี่ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์โดยการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน
อานัฐ ตันโช - มหาวิทยาลัยแม่โจ้
ชื่อเรื่อง: เทคนิคการเพิ่มอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของสารพิษตกค้างในดินเพื่อลดระยะเวลาการ ปรับเปลี่ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์โดยการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน
ชื่อเรื่อง (EN): Techniques for Increased Degradation Rate of Synthetic Chemical Residues in Soil for Shorten Conversion Period to Organic Farming Production
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย: อานัฐ ตันโช
คำสำคัญ:
บทคัดย่อ: เวลาการปรับเปลี่ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์โดยการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินและน้าหมักมูล ไส้เดือนดิน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลการใช้มูลไส้เดือนดินและน้าหมักมูลไส้เดือนดินในการลด ปริมาณสารพิษตกค้างในดินของสารกลุ่ม Organophosphates (Chlorpyrifos) และ Pyrethroids (Cypermethrin) ในระดับแปลงปลูกพืช 2 ชนิด ได้แก่ นาข้าว และแปลงพริก ทาการศึกษาในระดับแปลงปลูกพืช โดยเก็บตัวอย่างดินจากแปลงปลูกพืชทั้ง 2 ชนิด ที่มีการ ใช้มูลไส้เดือนดินและน้าหมักมูลไส้เดือนดิน ร่วมกับการใช้สารเคมีกาจัดศัตรูพืช 2 ชนิด คือ Cypermethrin และ Chlopyrifos มาตรวจวัดปริมาณสารพิษที่ตกค้างในแปลงปลูก โดยตรวจวัดดิน ก่อนทาการทดลอง และหลังการพ่นสารที่ 0 วัน 15 วัน 30 วัน 60 วัน และ 120 วัน พบว่า ค่าการ สลายตัวของ Cypermethrin ที่ตกค้างในดินทดสอบนั้นจะสลายตัวหมดภายในระยะเวลา 15 วัน ใน แปลงปลูกข้าว และสลายตัวภายในระยะเวลา 0 วันในแปลงที่ปลูกพริก โดยการใส่มูลไส้เดือนดิน มีค่า การสลายตัวเกิดขึ้นสูงสุด สูงกว่าการใส่น้าหมักมูลไส้เดือนดินและตารับควบคุม ในส่วนของค่าการ สลายตัวของ Chlopyrifos ในดินทดสอบพบว่าสลายตัวหมดภายในระยะเวลา 30 วัน ในแปลงปลูก ข้าว แต่ในส่วนของแปลงพริก Chlopyrifos สลายตัวหมดภายในระยะเวลามากกว่า 60 วัน โดยการ ใส่มูลไส้เดือนดินมีการสลายตัวของ Chlopyrifos เกิดขึ้นมากกว่า น้าหมักมูลไส้เดือนดิน การศึกษาครั้งนี้ สรุปได้ว่า การใส่มูลไส้เดือนดินจะช่วยเพิ่มอัตราการสลายตัวของ Cypermethrin และ Chlorpyrifos ได้ดีกว่าการไม่ใส่ ทั้งในแปลงปลูกข้าวและแปลงพริก ดังนั้นการ ใช้มูลไส้เดือนดิน สามารถเป็นตัวเลือกหนึ่งในการใช้เพิ่มอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของสารพิษที่ ตกค้างในดินได้ นอกจากการใช้ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินแล้ว คาสาคัญ: สารพิษตกค้าง, การย่อยสลายทางชีวภาพ, เกษตรอินทรีย์, ปุ๋ยหมักไส้เดือนดิน, น้าหมักมูล ไส้เดือนดิน
บทคัดย่อ (EN): esidues in soil in order to convert to organic farming systems by vermicompost and vermicompost liquid. The aim of this study was to test the effect of vermicompost and vermicompost liquid on decreasing the Organophosphates ( Chlorpyrifos) and Pyrethroids ( Cypermethrin) in soil crops where cultured with rice and pepper. The study followed by collecting the soil samples from crops where had been using vermicompost and vermicompost liquid treated with chemical pesticides in 2 formulas, Organophosphates and Pyrethroids. They were measured the quantity of chemical residues in soil by Check Soil before test on 0 day, 15 day, 30 day and 120 day showed that the degradation rate of Cypermethrin synthetic chemical residues in soil would finished within 15 days in rice crop and degradation rate within 0 days in pepper crop by added vermicompost. The Vermicompost showed degradation rate that was faster than vermicompost liquid on degradation rate of Cypermethrin and control. The degradation rate of Chlorpyrifos synthetic chemical residues in soil showed that soil samples found the degradation finished within 30 days in rice crop but in pepper crop found the degradation finished within 60 days by using vermicompost. Vermicompost showed the degradation rate faster than vermicompost liquid on Cypermethrin. This study was concluded that adding of vermicompost would increased the degradation rate of Cypermethrin and Chlorpyrifos better than not added in rice and pepper. Therefore adding in soil of vermicompost were one option in use for increasing degradation rate of synthetic chemical residues, which are not only use for improving soil fertility. Key word: Chemical residues, Biodegradation, Organic Farming, Vermicompost, Vermicompost liquid
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2557-10-01
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2559-09-30
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
เผยแพร่โดย: มหาวิทยาลัยแม่โจ้
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
เทคนิคการเพิ่มอัตราการย่อยสลายทางชีวภาพของสารพิษตกค้างในดินเพื่อลดระยะเวลาการ ปรับเปลี่ยนสู่ระบบเกษตรอินทรีย์โดยการใช้ปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดินและน้ำหมักมูลไส้เดือนดิน
อานัฐ ตันโช
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
30 กันยายน 2559
การติดตามตรวจสอบสารกลุ่มโพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคาร์บอนในอากาศริมถนนโดยใช้ใบไม้ในเขตจังหวัดนนทบุรี การศึกษาเปรียบเทียบปริมาณธาตุอาหารพืชในปุ๋ยหมักจากสารเร่ง พด1 และปุ๋ยหมักมูลไส้เดือนดิน การพัฒนาผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ย่อยสลายสารพิษตกค้าง ศึกษาการขยายพันธุ์ของไส้เดือนดินและวัสดุเลี้ยงที่เหมาะสมกับไส้เดือนดินสายพันธุ์ต่างๆ ผลของการใช้ไส้เดือนดินร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ที่มีต่อการปรับปรุงบำรุงดินเพื่อปลูกทับทิมอินทรีย์ การตรวจสอบความเป็นพิษของสารสกัดสะเดาต่อการเกิดความผิดปกติของสารพันธุกรรมในไส้เดือนดิน การศึกษาศักยภาพการปลดปล่อยไนโตรเจนที่เป็นประโยชน์ของวิธีการจัดการดินแบบเกษตรอินทรีย์ในชุดดินสันป่าตอง การถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยมูลไส้เดือนคุณภาพสูงโดยการใช้ ไส้เดือนแปรสภาพขยะอินทรีย์ในจังหวัดเพชรบูรณ์ ปัจจัยบางประการที่มีผลต่อการยอมรับการทำและการใช้ปุ๋ยหมักของเกษตรกรใน อ.ตะพานหิน จ.พิจิตร ประสิทธิภาพของไส้เดือน Pheretima peguana และ Eudrilus eugeniae ในการย่อยสลายมูลฝอยอินทรีย์

แสดงที่มา-อนุญาตแบบเดียวกัน 3.0 ประเทศไทย (CC BY-SA 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก