สืบค้นงานวิจัย
การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยเคมีและเมล็ดพันธุ์ข้าวอัตราแนะนำกับชุดเทคโนโลยีของเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว
ดร.ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง - กรมวิชาการเกษตร
ชื่อเรื่อง: การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยเคมีและเมล็ดพันธุ์ข้าวอัตราแนะนำกับชุดเทคโนโลยีของเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว
ชื่อเรื่อง (EN): The Comparison of PGPR Biofertilizer, Chemical Fertilizer and Recommended Seed Rate Package Technology for Reduced Rice Production Cost
ผู้แต่ง / หัวหน้าโครงการ: ดร.ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง
ผู้ร่วมงาน / ผู้ร่วมวิจัย:
คำสำคัญ: ปัจจัยการผลิต เมล็ดพันธุ์ข้าว การใส่ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ ปุ๋ยชีวภาพไรโซเบียม ปุ๋ยเคมี ข้าว ถั่วเขียว
คำสำคัญ (EN):
บทคัดย่อ: สำนักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน) หรือ สวก. ได้สนับสนุนทุนวิจัยโครงการ “การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยเคมีและเมล็ดพันธุ์ข้าวอัตราแนะนำกับชุดเทคโนโลยีของเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว” แก่กรมวิชาการเกษตร โดยมี ดร.ภัสชญภณ หมื่นแจ้ง เป็นหัวหน้าโครงการ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการใชปุยชีวภาพพีจีพีอารรวมกับปุยเคมีและเมล็ดพันธุขาวอัตราแนะนํากับชุดเทคโนโลยีของเกษตรกรเพื่อลดตนทุนการผลิตขาว จากการศึกษาวิจัย พบว่า ผลการปลูกข้าวในฤดูนาปรังและนาปเฉลี่ย ทั้ง 5 จังหวัด (เชียงราย ชัยนาท สุพรรณบุรี กาญจนบุรี และรอยเอ็ด) รวม 53 แปลง ในปี 2559 ได้ผลดังนี้ วิธีทดสอบมีคาเฉลี่ยผลผลิตขาวสูงกวาวิธีของเกษตรกร และแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยวิธีทดสอบมีคาเฉลี่ยผลผลิตขาว 572.32 กิโลกรัมตอไร สวนวิธีของเกษตรกรมีคาเฉลี่ยผลผลิตขาว 533.84 กิโลกรัมตอไร ซึ่งวิธีทดสอบมีคาเฉลี่ยผลผลิตขาวสูงกวาวิธีของเกษตรกร 38.48 กิโลกรัมตอไร เมื่อพิจารณาถึงตนทุนเฉลี่ยในการผลิตขาวในฤดูนาปรังและฤดูนาป ป 2559 พบวา วิธีทดสอบมีต้นทุนที่ต่ำกวาวิธีของเกษตรกรอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ โดยวิธีทดสอบมีตนทุนเฉลี่ย 3,061.20 บาทตอไร หรือ 5.81 บาทตอกิโลกรัม และวิธีของเกษตรกรมีตนทุนเฉลี่ย 3,775.38 บาทตอไร หรือ 8.03 บาทตอกิโลกรัม วิธีทดสอบมีตนทุนการผลิตต่ำกวาวิธีของเกษตรกร 714.18 บาทตอไร หรือ 2.22 บาทตอกิโลกรัม ซึ่งมีตนทุนต่ำกวาวิธีของเกษตรกรรอยละ 18.9 และเมื่อพิจารณาถึงกําไรเฉลี่ยในการผลิตขาวในฤดูนาปรังและนาป พบวาวิธีทดสอบมีกําไรสูงกวาวิธีของเกษตรกรและมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติ            ประโยชน์ที่จะได้รับของโครงการนี้คือ ไดเทคโนโลยีการใชปุยชีวภาพพีจีพีอารรวมกับปุยเคมี รอยละ 75 ของอัตราแนะนําตามคาวิเคราะหดิน และเมล็ดพันธุขาว 15 กิโลกรัมตอไร เพื่อลดตนทุนการผลิตขาว 
บทคัดย่อ (EN): No information found from agency.
ปีเริ่มต้นงานวิจัย: 2559-02-10
ปีสิ้นสุดงานวิจัย: 2560-02-09
ลิขสิทธิ์: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
ปีที่ได้รับงบประมาณ (ระบุได้มากกว่า 1 ปี): 2558
เผยแพร่โดย: กรมวิชาการเกษตร
บทคัดย่อ: ไม่พบข้อมูลจากหน่วยงานต้นทาง
ภาษา (EN): th
หากไม่พบเอกสารฉบับเต็ม (Full Text) โปรดติดต่อหน่วยงานเจ้าของข้อมูล

การอ้างอิง


TARR Wordcloud:
การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยเคมีและเมล็ดพันธุ์ข้าวอัตราแนะนำกับชุดเทคโนโลยีของเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว
กรมวิชาการเกษตร
9 กุมภาพันธ์ 2560
การเปรียบเทียบชุดเทคโนโลยีการใช้ปุ๋ยชีวภาพพีจีพีอาร์ร่วมกับปุ๋ยเคมีและเมล็ดพันธุ์ข้าวอัตราแนะนำกับชุดเทคโนโลยีของเกษตรกร เพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว การศึกษาวัสดุที่เหมาะสมสำหรับทำน้ำหมักชีวภาพจากสารเร่งซุปเปอร์ พด.2 เพื่อลดเวลาการย่อยสลายฟางข้าวและเพิ่มผลผลิตข้าวในชุดดินหางดง จังหวัดเชียงใหม่ การปรับใช้เทคโนโลยีเพื่อลดต้นทุนการผลิตข้าว โปรแกรมฐานข้อมูลแนะนำการใช้ปุ๋ย dbFRec for DOS ข้าวให้พลังงานผสานคุณค่าอาหาร ปุ๋ยเคมี..ฤาชื่อนี้มีปัญหา การใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรภาคกลาง สภาพการผลิตข้าวอินทรีย์ของเกษตรกรในจังหวัดหนองคาย การใช้เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชน อำเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลำภู การใช้เทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวของเกษตรกรในโครงการศูนย์ส่งเสริมและผลิตพันธุ์ข้าวชุมชนอำเภอเชียงยืน จังหวัดมหาสารคาม

แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-ไม่ดัดแปลง 3.0 ประเทศไทย (CC BY-NC-ND 3.0 TH)
คัดลอก URL
กระทู้ของฉัน
ผลการสืบค้นทั้งหมด โพสต์     เรียงลำดับจาก